กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กอายุ 0-5 ปี ปี2567 ”

ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีฮัน เจ๊ะแต

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กอายุ 0-5 ปี ปี2567

ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กอายุ 0-5 ปี ปี2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กอายุ 0-5 ปี ปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กอายุ 0-5 ปี ปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่ง การพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ต้องเริ่มต้นตั้งแต่ระยะแรกเกิด เด็กเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญ ทั้งนี้เพราะเด็กในวัยก่อนเรียนเป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย และสติปัญญา ประกอบกับการมีพัฒนาการด้านต่าง ๆ ที่มีผลต่อการกำหนดพฤติกรรม และความสามารถในการปรับตัวต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ภาวะโภชนาการของเด็กในวัยนี้มีความสำคัญมาก เนื่องจากการมีภาวะโภชนาการที่ดีส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายและสติปัญญาของเด็ก จากข้อมูลงานการเฝ้าระวังทางโภชนาการเด็กอายุ แรกเกิด - 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านลากอ ไตรมาสที่ 1,2,3 และ 4 ปีงบประมาณ 2566 (ข้อมูลจาก HDC ) เด็กอายุ แรกเกิด - 5 ปี จำนวน 477 คน ดำเนินการชั่งน้ำหนักจำนวน 471 คน คิดเป็นร้อยละ 98.74 พบว่า เด็กมีภาวะทุพโภชนาการเด็กที่เตี้ย ข้อมูลตามไตรมาสที่ 1,2,3 และ 4 ปีงบประมาณ 2566จำนวน 25,30,39 และ 32 คน คิดเป็นร้อยละ 5.30,6.36,8.28 และ 6.79 เด็กที่ผอม จำนวน 25,26,35 และ 33 คน คิดเป็นร้อยละ 5.30,5.52,7.43และ 7.00กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเป้าหมายให้เด็กวัยก่อนเรียน (แรกเกิด - 5 ปี) เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ 65 เด็กที่เตี้ยต้องไม่เกินร้อยละ 10เด็กที่ผอมต้องไม่เกินร้อยละ 4และจากการคัดกรองภาวะซีดในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี จำนวน 390 คน พบเด็กที่มีภาวะซีด 154 คน คิดเป็นร้อยละ 23.69 จากการทำเวทีประชาคมประเด็นที่เกี่ยวข้องที่เป็นสาเหตุต่อการพัฒนางานโภชนาการและพัฒนาการเด็ก สาเหตุมาจากหลายๆปัจจัยคือ การเลี้ยงดูของผู้ปกครองและพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการขาดความรู้ความตระหนักถึงการให้อาหารเสริมตามวัยและขาดการสังเกตพัฒนาการของลูก ครอบครัวมีฐานะยากจน มารดามีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ก็ส่งผลให้เด็กมีภาวะซีดตามมาซึ่งส่งผลกับการสร้างเซลล์สมองของเด็กมีผลต่อ EQ.และ IQ.ของเด็ก ตามมา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหา ทั้งนี้จึงมีการจัดอบรมให้ความรู้อาสาสมัครประจำหมู่บ้านเพื่อเป็นแกนนำด้านสุขภาพให้มีความรู้ความเข้าใจในการให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครอง และผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักในการดูแลบุตรอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เด็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแล สุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กอายุ 0 - 5 ปีปี 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ แรกเกิด 0– 5 ปี มีการเจริญเติบโตภาวะโภชนาการมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพิ่มขึ้น
  2. 2. เพื่อให้เด็กอายุ แรกเกิด – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85
  3. 3. เพื่อส่งเสริมเพิ่มศักยภาพและทักษะแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กตามวัย และสามารถให้ความรู้คำแนะนำและสามรถส่งต่อเด็กเพื่อรับการรักษายังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเฝ้าระวังติดตามการเจริญเติบโต (ชั้งน้ำหนักวัดส่วนสูง ทุก 3 เดือนครั้ง)
  2. อบรมแกนนำด้านสุขภาพในพื้นที (อสม.)
  3. อบรมให้ความรู้ พร้อมสาธิตเมนูอาหาร สำหรับผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
  4. ติดตามการให้อาหารเสริม (นม) และภาวะโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 68

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ แรกเกิด – 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. เด็กอายุ แรกเกิด – 5 ปี มีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 65
  3. ภาวะซีดในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี มีปริมาณลดลง
  4. ส่งเสริมเพิ่มศักยภาพและทักษะแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กตามวัย และสามารถให้ความรู้คำแนะนำและสามรถส่งต่อเด็กเพื่อรับการรักษายังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ แรกเกิด 0– 5 ปี มีการเจริญเติบโตภาวะโภชนาการมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ แรกเกิด 0 – 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
0.00 60.00

 

2 2. เพื่อให้เด็กอายุ แรกเกิด – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ แรกเกิด – 5 ปี มีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 65
65.00 1.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมเพิ่มศักยภาพและทักษะแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กตามวัย และสามารถให้ความรู้คำแนะนำและสามรถส่งต่อเด็กเพื่อรับการรักษายังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอได้
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมเพิ่มศักยภาพและทักษะแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กตามวัย และสามารถให้ความรู้คำแนะนำและสามรถส่งต่อเด็กเพื่อรับการรักษายังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 128
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 68

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ แรกเกิด 0– 5 ปี มีการเจริญเติบโตภาวะโภชนาการมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพิ่มขึ้น (2) 2. เพื่อให้เด็กอายุ แรกเกิด – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 (3) 3. เพื่อส่งเสริมเพิ่มศักยภาพและทักษะแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กตามวัย และสามารถให้ความรู้คำแนะนำและสามรถส่งต่อเด็กเพื่อรับการรักษายังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเฝ้าระวังติดตามการเจริญเติบโต (ชั้งน้ำหนักวัดส่วนสูง ทุก 3 เดือนครั้ง) (2) อบรมแกนนำด้านสุขภาพในพื้นที (อสม.) (3) อบรมให้ความรู้ พร้อมสาธิตเมนูอาหาร สำหรับผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (4) ติดตามการให้อาหารเสริม (นม) และภาวะโภชนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กอายุ 0-5 ปี ปี2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีฮัน เจ๊ะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด