กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด ประจำปี 2567 ”




หัวหน้าโครงการ
นายวินัย รัตนพันธ์ นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด ประจำปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5278-1-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด ประจำปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5278-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารคือปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารที่บริโภคนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อนก็อาจก่อให้เกิดพิษภัยกับผู้ที่บริโภคได้การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัย ไข้เจ็บโดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้วสิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน จากการตรวจสอบในพื้นที่พบว่าในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุมีตลาดและร้านค้าที่จำหน่ายอาหารสดอยู่มาก ซึ่งหากมีสารปนเปื้อนในอาหารก็อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนได้ การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรงไม่เกิดการเจ็บป่วยจากอาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญ การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ ประกอบกับจากการตรวจอาหารสดในตลาดเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุในปี ๒๕65 ปรากฎว่าพบสารปนเปื้อนบางชนิด จึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย เทศบาลเมืองบ้านพรุจึงได้จัดทำ “โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด ประจำปี ๒๕66” ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหารให้ปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน 5 ชนิดได้แก่ สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลินสารกันราสารฟอกขาวและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ และเพื่อเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้รับความคุ้มครองด้านอาหาร ตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.๒๕๒๒ และการบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  2. กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร
  3. กิจกรรมอบรม
  4. สรุปผลโครงการ
  5. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  6. กิจกรรมอบรม
  7. กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร
  8. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 418
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ตลาดสดในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ 3

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองดูแลสุขภาพ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปราศจากสารปนเปื้อน ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม ปลอดภัย
  2. เกิดการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารสดที่จำหน่ายในพื้นที่
  3. ลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยของประชาชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ดังนี้ ค่าป้ายไวนิลบริโภคอาหารปลอดภัย ขนาด 1.2 ม. X 2.4 ม.  1 ผืน เป็นเงิน 350 บาท ค่าแผ่นพับเรื่อง เลือกซื้ออาหารอย่างไรให้ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน เป็นเงิน  9,000 บาท ค่าชุดสาธิตผ้ากันเปื้อนตามหลักสุขาภิบาล เป็นเงิน 5,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินกิจกรรมประชาสัมพันธ์การเลือกซื้ออาหารอย่างไรให้ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และปลอดภัยต่อผู้บริโภคเมื่อซื้อนำกลับไปรับประทาน

 

0 0

2. กิจกรรมอบรม

วันที่ 17 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนวิทยากรอบรมผู้ประกอบการ (จำนวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 65 บาทเป็นเงิน 3,250 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ จำนวน 100 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าวัสดุในการอบรม เป็นเงิน 5,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประกอบการร้านค้า มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงความปลอดภัยและมีการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด

 

50 0

3. กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
    ค่าชุดตรวจสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI-2) จำนวน2 ชุดเป็นเงิน 1,600 บาท ค่าชุดทดสอบบอแรกซ์จำนวน 1 กล่อง เป็นเงิน214 บาท ค่าชุดทดสอบสารกันรา จำนวน 3 กล่อง เป็นเงิน720 บาท ค่าชุดทดสอบสารฟอกขาวจำนวน 2 กล่อง เป็นเงิน370 บาท ค่าชดทดสอบฟอร์มาลินจำนวน 100 กล่อง เป็นเงิน 5,000 บาท ค่าชุดทดสอบสารโพลาร์ จำนวน 3 กล่องเป็นเงิน 2,700 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจร้านจำหน่ายอาหาร เป็นเงิน 11,296 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่สำรวจและทำการทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ตามร้านค้า โรงเรียน ตลาด และอื่นๆ

 

0 0

4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 1 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมเอกสารค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ได้รับงบสนับสนุนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำไปเป็นความรูเกชหี่ยวกับการเฝ้าระวังสารปนเปิ้อนในอาหารได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
14.00 9.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 421
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 418
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ตลาดสดในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ 3

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร (3) กิจกรรมอบรม (4) สรุปผลโครงการ (5) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (6) กิจกรรมอบรม (7) กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร (8) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารสด ประจำปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5278-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวินัย รัตนพันธ์ นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด