กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย(แอโรบิค)เพื่อสุขภาพตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุรัยณี เจ๊ะบือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย(แอโรบิค)เพื่อสุขภาพตำบลมะกรูด ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67 - L2985 – 01 - 04 เลขที่ข้อตกลง 06/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 13 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย(แอโรบิค)เพื่อสุขภาพตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย(แอโรบิค)เพื่อสุขภาพตำบลมะกรูด ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย(แอโรบิค)เพื่อสุขภาพตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67 - L2985 – 01 - 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กุมภาพันธ์ 2567 - 13 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันวิถีชีวิตของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลง มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มมากขึ้น ทำให้มีการเคลื่อนไหวทางกายลดลง ซึ่งเป็นผลเสียต่อสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง การออกกำลังกายและการเล่นกีฬานั้น มีประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังเป็นการป้องกันโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสุง โรคหัวใจ และหลอดเลือด ซึ่งโรคเรื้อรังเหล่านี้ กำลังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในภาพรวมระดับประเทศ ดังที่จะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นด้วย โดยเฉพาะปัญหาสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งการออกกำลังกายเสมือนยาวิเศษ ที่ช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายเกิดความสมบูรณ์แข็งแรง เป็นเกราะป้องกันโรคภัยความเจ็บป่วยได้อย่างดี แต่ทั้งนี้การออกกำลังกายที่ถูกต้อง เหมาะสม ผู้ออกกำลังกายจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงทักษะที่ถูกต้องในการกำหนดรูปแบบ วิธีการ และระยะเวลาในการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามสภาพของบุคคล ดังนั้น การมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง จึงเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา
      การออกกำลังกายแบบแอโรบิคหรือที่ทุกคนมักคุ้นกับการเรียกว่าเต้นแอโรบิค เป็นรูปแบบการออกกำลังกาย  ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเป็นอย่างมากในปัจจุบัน เหมาะสำหรับวัยทำงาน ซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่จะช่วยในการพัฒนาสร้างเสริมความแข็งแรงของร่างกายและจิตใจ ช่วยให้ระบบทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทำงานได้ดีขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้นและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดระดับน้ำตาลและไขมันในเลือด ลดไขมันบริเวณหน้าท้อง เสริมความหนาแน่นของมวลกระดูก นอกจากนี้ยังช่วยทำให้อารมณ์ดี คลายเครียด มีสมาธิดีขึ้น ส่งผลให้ผู้ออกกำลังกาย มีร่างกายที่แข็งแรง อีกทั้งยังสามารถทำได้ทุกเพศทุกวัย ทุกเวลา ทุกสถานที่ และ เป็นการส่งเสริมสุขภาพง่ายๆ ได้ด้วยตนเองอีกด้วย
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเป็นการดูแลรักษาสุขภาพ และการป้องกันโรคต่างๆ ใช้เวลาช่วงเย็นเป็นการพบปะกันของคนในชุมชน เพื่อร่วมกิจกรรมสันทนาการการออกกำลังกายร่วมกัน เพิ่มความเข้มแข็ง และความสามัคคีให้คนในชุมชนอีกทางหนึ่ง งานสาธารณสุข สำนักปลัด เทศบาลตำบลมะกรูด จึงได้จัดทำโครงการโครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย (แอโรบิค) เพื่อสุขภาพตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการออกกำลังกาย (เต้นแอโรบิค)
  2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายที่ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  3. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มวัยทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
  2. 2.กิจกรรมตรวจประเมินผลมวลกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และสุขภาพจิตที่ดี
          2. ประชาชนเกิดความสนใจในการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างมีคุณค่า       3. ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ และลดอัตราการเจ็บป่วย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการออกกำลังกาย (เต้นแอโรบิค)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการออกกำลังกาย (เต้นแอโรบิค)
90.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายที่ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 กลุ่มเป้าหมายสามารถออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
90.00

 

3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มวัยทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มวัยทำงานมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการออกกำลังกาย    (เต้นแอโรบิค) (2) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายที่ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (3) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มวัยทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ (2) 2.กิจกรรมตรวจประเมินผลมวลกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย(แอโรบิค)เพื่อสุขภาพตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67 - L2985 – 01 - 04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุรัยณี เจ๊ะบือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด