กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์


“ โครงการสุขเพียงพอ ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
น.ส.ปวรรษา พรหมสังคหะ

ชื่อโครงการ โครงการสุขเพียงพอ ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 06 เลขที่ข้อตกลง L3364-01-06

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขเพียงพอ ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขเพียงพอ ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขเพียงพอ ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย ทำให้อัตราการเกิดน้อยลงประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ประชากรไทยหยุดโตมีแต่จะแก่ลงทุกวัน มีการคาดการณ์ไว้ว่า ในอีก 2 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2566) ประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ : Age Society และจากนั้นอีกเพียง 10 ปีประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” ปี พ.ศ.2568ในระดับประเทศมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 21.1 ระดับจังหวัดพัทลุงร้อยละ 22.68 ระดับอำเภอศรีนครินทร์ร้อยละ 21.6 สำหรับ ตำบลบ้านลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง มีประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 1,130 คน คิดเป็นร้อยละ 15.97 (จากข้อมูล HDC ณ 30 ก.ย.2566) เมื่อก้าวเข้าสู่ช่วงสูงวัยนอกจากสุขภาพร่างกายที่ย่ำแย่อ่อนแอลงไปมากแล้วยังมีเรื่องของสุขภาพจิตเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยจากอุบัติการณ์ของภาวะเสี่ยงที่พบบ่อยในผู้สูงอายุรวมถึงมีขนาดและความรุนแรงของปัญหามาก คือภาวะหกล้ม ภาวะสมองเสื่อม และตาต้อกระจก ภาวะหกล้มพบมากขึ้นตามลักษณะโครงสร้างประชากรไทยที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น การหกล้มทำให้กระดูกหัก เกิดความเจ็บป่วยทั้งทางกายและจิตใจ ความพิการทุพพลภาพ และความสูญเสียทางเศรษฐกิจทั้งต่อครอบครัวและสังคมโดยรวม นอกจากนี้โรคสมองเสื่อมเริ่มพบมากขึ้นและกำลังเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ สังคม และครอบครัว เนื่องจากเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุและมีจำนวนผู้เป็นโรคมากขึ้นตามค่าอายุเฉลี่ยของประชากร ส่วนตาต้อกระจกเป็นภาวะที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการเข้าถึงการบริการยังน้อยอยู่ ดังนั้นการที่จะส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงหรือป่วยได้รับบริการสุขภาพอย่างเหมาะสมและตรงประเด็นปัญหา หรือป้องกันความรุนแรงของโรคและภาวะแทรกซ้อน รวมถึงความพิการที่เหมาะสมที่สุดคือการคัดกรองและประเมินกลุ่มโรคและอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ(Geriatric Sydromes) อันจะนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ทำให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและป่วยได้รับการส่งต่อเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่ตรงปัญหาต่อไป รวมถึงกลุ่มปกติที่คัดแยกเข้าสู่บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับปฐมภูมิ(Primary Prevention) ได้อย่างทันท่วงที การคัดกรองความเสี่ยงภาวะสมองเสื่อมภาวะหกล้มและตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ จึงเป็นประตูขั้นแรกที่จะนำไปสู่การป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงประเด็น ซึ่งจากการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุของจังหวัดพัทลุง ปี 2566 พบว่า ผู้สูงอายุป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 34.08, ป่วยโรคเบาหวานร้อยละ 18.21, เสี่ยงต่อสมองเสื่อมร้อยละ 0.56, เสี่ยงต่อซึมเศร้าร้อยละ 0.02, ข้อเข่าผิดปกติร้อยละ 7.26, เสี่ยงต่อภาวะหกล้มร้อยละ 7.26 มีภาวะอ้วนร้อยละ 30.65 และมีปัญหาสายตามัวร้อยละ 26.87 (จากฐานข้อมูล HDC ณ 30 กันยายน 2566) กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์จึงขอเสนอการดำเนินกิจกรรมที่สร้างคุณประโยชน์แก่ประชาชนชาวไทยกลุ่มวัยผู้สูงอายุด้วยการจัดบริการคัดกรองความเสี่ยงภาวะสมองเสื่อม ภาวะหกล้มและตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ เพื่อเตรียมความพร้อมดูแลผู้สูงอายุ ตลอดจนส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  2. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
  3. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางด้านสมองเสื่อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. อบรม เจ้าหน้าที่สาธารณสุข, อสม.และแกนนำผู้สูงอายุ ให้ความรู้ในการตรวจคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
  3. ปฏิบัติการคัดกรองผู้สูงอายุที่พบอาการผิดปกติด้านต่างๆ
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการและมีหนังสือเชิญผู้สูงอายุเข้ารับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพผ่านทางอสม.และแกนนำผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลลำสินธุ์
  5. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 418
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
เจ้าหน้าทีสาธารณสุข,อสมแกนนำผู้สูงอายุและผู้สูงอาย 105

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองจากภาวะเสี่ยงในด้านต่างๆได้รับการส่งต่อและรับการรักษาอย่างถูกต้อง

2.เป็นการส่งเสริมให้ญาติและผู้สูงอายุใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
112.00 60.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง
85.00 40.00

 

3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางด้านสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางด้านสมองเสื่อม
54.00 32.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 523
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 418
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
เจ้าหน้าทีสาธารณสุข,อสมแกนนำผู้สูงอายุและผู้สูงอาย 105

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (2) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางด้านสมองเสื่อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) อบรม เจ้าหน้าที่สาธารณสุข, อสม.และแกนนำผู้สูงอายุ ให้ความรู้ในการตรวจคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน (3) ปฏิบัติการคัดกรองผู้สูงอายุที่พบอาการผิดปกติด้านต่างๆ (4) ประชาสัมพันธ์โครงการและมีหนังสือเชิญผู้สูงอายุเข้ารับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพผ่านทางอสม.และแกนนำผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลลำสินธุ์ (5) ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขเพียงพอ ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.ปวรรษา พรหมสังคหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด