กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน ปี2567 ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุไรพร ไพรพฤกษ์




ชื่อโครงการ โครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน ปี2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 65/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน ปี2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน ปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน ปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ที่มาของการทำโครงการ จากสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยในการบริโภคสินค้าในชุมชนและผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคปี 2566 แสดงให้เห็นความจำเป็นในการดำเนินงานคุ้มครองบริโภคอย่างต่อเนื่อง และสร้างพัฒนาศักยภาพขยายเครือข่าย อย.น้อยและ อสม.คุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มเติม เพื่อการกำกับดูแลและเพิ่มความเข้มงวดในการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์กลุ่มเสี่ยงในสถานที่สำคัญ เช่นโรงเรียน วัด ตลาด สวนสาธารณะ โดยการสร้างแกนนำของชุมชนให้สามารถเฝ้าระวังภัยและคุ้มภัยให้ประชาชนในความรับผิดชอบ อีกทั้งเป็นการส่งเสริมความร่วมมือของภาคีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค,คปสอ.เมืองพัทลุง และเป็นประเด็นวาระของการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ (พชอ.) ภายใต้การทำงานอย่างบูรณาการของภาคีเครือข่ายสุขภาพทั้งท้องถิ่น ภาครัฐ และภาคประชาชน อย่างเป็นรูปธรรม
และเนื่องจากสถานการณ์ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพิ่มขึ้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องตรวจความเค็ม และความหวาน ของอาหารและเครื่องดื่มเพื่อควบคุมการบริโภคเครืองดื่มที่มี รส หวาน และ อาหารที่มีรสเค็ม เกินมาตรฐาน ที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำ “โครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพ ปี2567 ” ขึ้น เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับแกนนำของประชาชน เสริมความรู้และทักษะให้เป็นแกนนำสำคัญ สามารถให้คำแนะนำและให้ความรู้ในการอ่านฉลากและเลือกซื้อและเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพประเภทต่างๆ ที่ถูกต้องแก่คนในชุมชนหรือบุคคลทั่วไปได้ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน โดยร่วมกับเจ้าพนักงานให้บริการเชิงรุกในการสำรวจ ตรวจสอบ เฝ้าระวังและแก้ปัญหาด้านสุขภาพในชุมชนเบื้องต้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ปลอดภัย หรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
  2. เกิดเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและมีศูนย์เรียนรู้เคลื่อนที่ด้านคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง
  2. ตรวจร้านชำ 135 ร้าน 45 ชุมชน
  3. ตรวจสารปนเปื้อนในตลาดสดตลาดนัดในเขตเทศบาลเมือง 5 แห่ง
  4. เก็บตัวอย่างอาหารและเคริ่องดื่มเพื่อตรวจสอบความเค็มและความหวานจากร้านขายข้าวแกงและเครื่องดื่ม
  5. อบรมผู้นำ อย.น้อยในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
  6. ตรวจอาหารและยารอบรั้ววัด โรงเรียน โรงพยาบาล ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
  7. เก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำและทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
  8. ประชุมฟื้นฟูความรู้พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ส่งเสริมป้องกัน ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และเกิดเครือข่ายที่สามารถแจ้งเตือนภัยด้านสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองพัทลุง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง

วันที่ 3 เมษายน 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ภญ.ศจีรัตน์ หลีวิจิตร เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลพัทลุง(ครูพี่เลี้ยง)  พร้อมด้วยสมาชิก อสม.นักวิทย์เทศบาลเมืองพัทลุง  ร่วมประชุมเพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการ  ประจำปี ๒๕๖๗ เพื่อขับเคลื่อนงานร่วมกับครูพี่เลี้ยง
  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้  ซักถามปัญหาทั่วไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดโครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน
  • อสม.นักวิทย์ มีความรู้ความเข้าใจ ในการปฏิบัติงาน ตามโครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน

 

0 0

2. ตรวจร้านชำ 135 ร้าน 45 ชุมชน

วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ
  • อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน และ อสม.คุ้มครองผู้บริโภคฯ เทศบาลเมืองพัทลุง พร้อมด้วยเภสัชกรพี่เลี้ยงจากโรงพยาบาลพัทลุง ร่วมตรวจร้านชำในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง จำนวน 138 ร้าน 45 ชุมชน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
  • สรุปผลการดำเนินงานปัญหาอุปสรรค           พบร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน  ร้านชำคุณภาพ เป็นประเภทร้านชำสีเขียว จำนวน 126 ร้าน           พบร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน  เป็น  เป็นประเภทร้านชำสีเหลือง จำนวน 1 ร้าน           พบร้านชำไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน  เป็น  เป็นประเภทร้านชำสีแดง จำนวน 11 ร้าน และได้แนะนำไม่ให้ร้านชำขายยาอันตราย ผลิตภัณฑ์ที่เสื่อมสภาพ  หมดอายุ สินค้าที่ติดฉลากไม่มีภาษาไทย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดการเฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย และไม่ได้มาตรฐาน  และได้ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการในตลาดสด  ตลาดนัด
  • มีตลาดนัดน่าซื้อ อาหารปลอดภัย ปลอดสารปนเปื้อน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

 

0 0

3. ตรวจสารปนเปื้อนในตลาดสดตลาดนัดในเขตเทศบาลเมือง 5 แห่ง

วันที่ 10 เมษายน 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมฟื้นฟู และเพิ่มพูนความรู้แก่ อสม.นักวิทย์
  • อสม.นักวิทย์ฯ ร่วมกับเภสัชกรพี่เลี้ยง และเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองพัทลุง ลงปฏิบัติการเก็บตัวอย่างอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อนำมาตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร บริเวณตลาดสดในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ได้แก่ตลาดสดท่ามิหรำ ตลาดสดผดุงดอนยอ ตลาดทุ่งไหม้ ตลาดควนมะพร้าว และตลาดสดเทศบาลเมืองพัทลุง จำนวน 229 ตัวอย่าง
  • ลงปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อน จากตัวอย่างอาหารที่เก็บมา
  • สรุปผลการดำเนเนงาน ปัญหาอุปสรรค           ตรวจสารบอแรกซ์ ในหมูบด, ลูกชิ้น, ไส้กรอก จำนวน 27 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 27 ตัวอย่าง รวมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 100%           ตรวจสารฟอร์มาลีน ในน้ำแช่อาหารทะเล จำนวน 25 ตัวอย่าง  ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 24 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 1 ตัวอย่าง ในน้ำแช่กุ้ง  รวมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 96%           ตรวจสารกันรา ในน้ำดองผัก จำนวน 26 ตัวอย่าง  ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 25 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 1 ตัวอย่าง ในน้ำผักกาดดอง  รวมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 96.15%           ตรวจสารฟอกขาว ในถั่วงอก ขิงซอย หน่อไม้ดอง จำนวน 23 ตัวอย่าง  ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 23 ตัวอย่าง รวมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 100%           ตรวจยาฆ่าแมลงในผักสด ผลไม้ จำนวน 128 ตัวอย่าง  ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 117 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 11 ตัวอย่าง ในกระเทียม 8 ตัวอย่าง, กะหล่ำปลี 1 ตัวอย่าง, ผักกาดขาว 1 ตัวอย่าง และหัวหอม 1 ตัวอย่าง  รวมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 91.41%

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดการเฝ้าระวัง และให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการในตลาดสด ตลาดนัด
  • มีตลาดนัดน่าซื้อ อาหารปลอดภัย ปลอดสารปนเปื้อน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

 

0 0

4. เก็บตัวอย่างอาหารและเคริ่องดื่มเพื่อตรวจสอบความเค็มและความหวานจากร้านขายข้าวแกงและเครื่องดื่ม

วันที่ 17 พฤษภาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-  ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์ฯ เทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับการเก็บตัวอย่างอาหารและเคริ่องดื่มเพื่อตรวจสอบความเค็มและความหวานจากร้านขายข้าวแกงและเครื่องดื่ม -  ลงปฏิบัติการเก็บตัวอย่าง อาหารและเคริ่องดื่ม จากร้านขายข้าวแกงและเครื่องดื่ม -  ลงปฏิบัติการทดสอบความเค็ม และความหวานของอาหารและเคริ่องดื่ม จากร้านขายข้าวแกงและเครื่องดื่ม จากตัวอย่างจำนวน 93 ตัวอย่า่ง
-  ตรวจวัดระดับความเค็มจำนวน 22 ตัวอย่าง พบความเค็มที่ผ่านเกณฑ์อาหารสุขภาพ จำนวน 2 ตัวอย่าง ไมผ่านเกณฑ์ 20 ตัวอย่าง -  ตรวจวัดระดับความหวานในเครื่องดื่ม จำนวน 71 ตัวอย่าง พบความหวานที่ผ่านเกณฑ์อาหารสุขภาพ จำนวน 31 ตัวอย่าง ไมผ่านเกณฑ์ 40 ตัวอย่าง ซึ่งเครื่องดื่มที่ผ่านเกณฑ์สุขภาพส่วนใหญ่จะเป็นเมนูหวานน้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ให้คำแนะนำผู้จำหน่าย อาหารและเครื่องดื่ม ลดความเค็ม และความหวานให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อผู้้บริโภค
  • ผู้บริโภคเกิดความปลอดภัย ป้องกัน และลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

 

0 0

5. อบรมผู้นำ อย.น้อยในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

วันที่ 11 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับการปฏิบัติการเชิงรุกอบรมผู้นำ อย.น้อยในโรงเรียน
  • ลงปฏิบัติการเชิงรุกอบรมผู้นำ อย.น้อยในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
  • เดินรณรงค์ การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ สามารถเลือกบริฝดภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยได้ด้วยตนเอง
  • เกิดเครือข่าย อย.น้อย ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารและยารอบรั้วโรงเรียน

 

0 0

6. ตรวจอาหารและยารอบรั้ววัด โรงเรียน โรงพยาบาล ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

วันที่ 17 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์เทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับการตรวจอาหารและยา รอบรั้ววัด โรงเรียน  โรงพยาบาล
  • ลงปฏิบัติการปฏิบัติการตรวจอาหาร และยารอบรั้ววัด โรงเรียน โรงพยาบาล ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ร่วมกับ ผู้นำ อย.น้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดการเฝ้าระวัง และให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการที่จำหน่ายอาหารและยารอบรั้ว วัด และโรงเรียน
  • อาหารและยารอบรั้ว วัด โรงเรียน โรงพยาบาล มีความปลอดภัยกับเด็กและประชาชนผู้บริโภค
  • เกิดการฝึกปฏิบัติงานจริง ของผู้นำ อย.น้อย

 

0 0

7. เก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำและทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ

วันที่ 27 กรกฎาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์ฯ เทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับการเก็บตัวอย่าง และตรวจสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
  • ลงปฏิบัติการเก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำ จากร้านอาหาร, หาบเร่, แผงลอย ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
  • ลงปฏิบัติการทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
  • สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค
  • มอบเกียรติบัตร อาหารปลอดภัย แก่ร้านที่มีปริมาณสารโพลาร์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดการเฝ้าระวัง ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหารประเภททอด
  • ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารประเภททอดที่ปลอดภัย
  • ผู้บริโภคสามารถเลือกบริโภค ร้านที่จำหน่ายอาหารประเภททอดที่ปลอดภัย จาก ร้านที่ติดสติ๊กเกอร์ "ร้านนี้ น้ำมันทอดปลอดภัย"

 

0 0

8. ประชุมฟื้นฟูความรู้พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง

วันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมฟื้นฟูความรู้พัฒนาศักยภาพ บทบาทหน้าที่ของ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย
  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้  สรุปผลการดำเนเนงาน  ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพชุมชน ปี ๒๕๖๗

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มี อสม.นักวิทย์ฯที่มีความรู้ความสามารถ ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ เชี่ยวชาญงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ปลอดภัย หรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : -ผลิตภัณฑ์กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจเฝ้าระวังมีความปลอดภัยมากกว่าร้อยละ ๘๐
80.00 0.00

 

2 เกิดเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและมีศูนย์เรียนรู้เคลื่อนที่ด้านคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
ตัวชี้วัด : -อสม. และ อย.น้อย มีความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและมีการดำเนินงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน -มีศูนย์เรียนรู้เคลื่อนที่ด้านคุ้มครองผู้บริโภค เทศบาลเมืองพัทลุง อย่างน้อย ๑ หน่วยและมีอสม.นักวิทยาศาตร์การแพทย์ชุมชน ทุกชุมชนในเทศบาลเมืองพัทลุง
20.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1200 1200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000 1,000
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200 200

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ปลอดภัย หรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค (2) เกิดเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและมีศูนย์เรียนรู้เคลื่อนที่ด้านคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง (2) ตรวจร้านชำ 135 ร้าน 45 ชุมชน (3) ตรวจสารปนเปื้อนในตลาดสดตลาดนัดในเขตเทศบาลเมือง 5 แห่ง (4) เก็บตัวอย่างอาหารและเคริ่องดื่มเพื่อตรวจสอบความเค็มและความหวานจากร้านขายข้าวแกงและเครื่องดื่ม (5) อบรมผู้นำ อย.น้อยในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง (6) ตรวจอาหารและยารอบรั้ววัด โรงเรียน โรงพยาบาล ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง (7) เก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำและทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ (8) ประชุมฟื้นฟูความรู้พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน ปี2567

รหัสสัญญา 65/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2567 - 30 สิงหาคม 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน ปี2567 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจุไรพร ไพรพฤกษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด