กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ


“ โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์(EQ) ในเด็กวัยเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร ”

ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรอุมา ชูสุวรรณ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์(EQ) ในเด็กวัยเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร

ที่อยู่ ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1510-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 พฤษภาคม 2567 ถึง 25 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์(EQ) ในเด็กวัยเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์(EQ) ในเด็กวัยเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์(EQ) ในเด็กวัยเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบ่อ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1510-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 พฤษภาคม 2567 - 25 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,680.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้มีความเจริญทางด้านวัตถุ การพัฒนาด้านเทคโนโลยีเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ อย่างรวดเร็วที่ช่วยในการดำรงชีวิต ซึ่งเยาวชนก็เป็นกลุ่มหนึ่งที่จำเป็นต้องรับรู้หรือใช้เทคโนโลยีต่างๆมากขึ้น นอกจากการพัฒนาด้านความรู้(IQ) แล้วในเรื่องการพัฒนาทางอารมณ์(EQ) ยังเป็นสิ่งที่เยาวชนจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาหรือรับรู้อารมณ์ของตนเอง รวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงรอบตัว เพื่อการดำรงชีพที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในด้านต่างๆ เช่น การทำร้ายตนเอง การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา การติดยาเสพติด การท้องก่อนวัยอันควร ที่เป็นผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม หากเยาวชนสามารถพัฒนา/แก้ไขปัญหาชีวิตด้วยอารมณ์ที่เหมาะสมได้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ทางตรงและทางอ้อม จึงมีความจำเป็นในการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาทักษะความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กและเยาวชนในโรงเรียน ดังนั้น เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมและสร้างกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ ทางโรงเรียนเล้งเห็นว่าการให้ความรู้กับเยาวชน/นักเรียนในโรงเรียนเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะความฉลาดทางอารมณ์(EQ) และการบริหารจัดการเกี่ยวกับความคิดของตนเอง และการตัดสินใจที่ถูกต้องเหมาะสม จะสามารถเสริมสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ให้เป็นผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดีได้ ทางโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร จึงได้จัดทำโครงการขึ้น เพื่อให้นักเรียนร่วมกับครู บุคลากรในโรงเรียน และผู้นำด้านสุขภาพในชุมชนได้รับผิดชอบการสร้างเสริมทักษะความฉลาดทางอารมณ์(EQ) หากกิจกรรมดังกล่าวดำเนินการได้เป็นอย่างดีจะพัฒนาไปสู่การเป็นผู้มีสุขภาพจิตที่ดี จิตใจอารมณ์เบิกบานแจ่มใส และไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ในสังคมอนาคต ทางโรงเรียนจึงจัดทำโครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ในเด็กวัยเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหารนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร จำนวน 88 คน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) 2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสื่อสาร การตัดสินใจการแก้ไขปัญหา ทักษะการดำรงชีวิต เข้าในอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 88
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนที่เข้าอบรม สามารถนำเอาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม เช่น ในครอบครัว ในโรงเรียน ได้อย่างปกติสุข ลดความขัดแย้ง หรือลดการทะเลาะเบาะแว้งกันในกลุ่ม
    2. นักเรียนสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยวิธีการที่ไม่ใช้ความรุนแรง และไม่หันไปพึ่งพายาเสพติด
    3. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปฏิบัติตน เอื้ออำนวยให้เกิดความสำเร็จในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้เป็นอย่างดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร จำนวน 88 คน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) 2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสื่อสาร การตัดสินใจการแก้ไขปัญหา ทักษะการดำรงชีวิต เข้าในอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) 2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีทักษะในการสื่อสาร การตัดสินใจการแก้ไขปัญหา ทักษะการดำรงชีวิต เข้าในอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 88
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 88
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร จำนวน  88 คน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)  2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสื่อสาร การตัดสินใจการแก้ไขปัญหา ทักษะการดำรงชีวิต เข้าในอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์(EQ) ในเด็กวัยเรียนโรงเรียนวัดชลวาปีวิหาร จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1510-2-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอรอุมา ชูสุวรรณ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด