โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายเสกสรร ทองขวิด ประธานอสม. ม.10 บ้านทุ่งข่า
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1485-2-16 เลขที่ข้อตกลง 15/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1485-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อ คือ โรคที่สามารถถ่ายทอดติดต่อถึงกันได้ระหว่างบุคคล โดยมีเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ เป็นสาเหตุของโรค และถึงแม้ว่าเชื้อโรคจะเป็นตัวก่อเหตุ แต่พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของมนุษย์ ก็เป็นปัจจัยร่วมที่สำคัญที่จะทำให้เกิดโรคติดต่อนั้น ๆ ขึ้นสำหรับในประเทศไทยเป็นบริเวณร้อนชื้น จึงทำให้เชื้อโรคและแมลงที่เป็นพาหะนำโรคเจริญเติบโตและแพร่พันธุ์ได้ง่าย ประเทศเขตร้อนจึงพบโรคติดต่อชนิดต่าง ๆ มากกว่าประเทศที่มีอากาศหนาว โดยโรคที่พบบ่อยในแถบเขตร้อน จะเรียกรวมว่า "โรคเขตร้อน"(Tropical Diseases) ซึ่งอาจเกิดจากเชื้อได้มากมายหลายชนิด นับตั้งแต่เชื้อไวรัสซึ่งมีขนาดเล็กมากลงไปจนถึงสัตว์เซลล์เดียว และหนอนพยาธิต่าง ๆ
โรคติดต่อ ในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2523 ประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2523 โดยได้มีประกาศรัฐมนตรี เรื่องโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข และโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ ซึ่งจากข้อมูลในปี 2559 ระบุว่า โรคติดต่อ มีทั้งหมด 52 โรค โรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ มีทั้งหมด 23 โรค ปัจจุบันโรคติดต่อที่เป็นอันตรายหลายชนิดถูกควบคุมและกำจัดไปหมดแล้ว เช่น กาฬโรค ไข้ทรพิษ ส่วน โรคติดต่อ บางชนิดยังคงพบอยู่บ้างแต่ลดความรุนแรงของโรคลง เช่น อหิวาตกโรค แต่ก็ยังคงมีโรคติดต่อหลายชนิดปรากฎอยู่ และยังพบโรคติดต่อชนิดใหม่เกิดขึ้นอยู่ โรคติดต่อที่ยังพบในปัจจุบันมีอยู่หลายโรค แต่โรคติดต่ออะไรบ้างที่พบได้บ่อยในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก ที่ควรรู้จักไว้มี ไข้เลือดออก เลปโตสไปโรซิส ไข้หวัดและไข้หวัดใหญ่ โรคตาแดง และโรคอุจจาระร่วง เป็นต้น
เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก มีการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ให้ประสบผลสำเร็จ และ เกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการกำจัดพาหะนำโรค และแหล่งเกิดโรค รวมถึงการป้องกันตนเองของคนในชุมชน ทางชุมชนบ้านลำปลอก ได้ตระหนัก และเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ชมรมอสม.ม.10 จึงได้จัดทำโครงการโครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน ประจำปี 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน
- 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
- 3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในเขตรับผิดชอบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีแกนนำสุขภาพ ในการรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ
- อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อใน เขตรับผิดชอบ ลดลง ≥ร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน (3) 3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในเขตรับผิดชอบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1485-2-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเสกสรร ทองขวิด ประธานอสม. ม.10 บ้านทุ่งข่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายเสกสรร ทองขวิด ประธานอสม. ม.10 บ้านทุ่งข่า
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1485-2-16 เลขที่ข้อตกลง 15/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1485-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อ คือ โรคที่สามารถถ่ายทอดติดต่อถึงกันได้ระหว่างบุคคล โดยมีเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ เป็นสาเหตุของโรค และถึงแม้ว่าเชื้อโรคจะเป็นตัวก่อเหตุ แต่พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของมนุษย์ ก็เป็นปัจจัยร่วมที่สำคัญที่จะทำให้เกิดโรคติดต่อนั้น ๆ ขึ้นสำหรับในประเทศไทยเป็นบริเวณร้อนชื้น จึงทำให้เชื้อโรคและแมลงที่เป็นพาหะนำโรคเจริญเติบโตและแพร่พันธุ์ได้ง่าย ประเทศเขตร้อนจึงพบโรคติดต่อชนิดต่าง ๆ มากกว่าประเทศที่มีอากาศหนาว โดยโรคที่พบบ่อยในแถบเขตร้อน จะเรียกรวมว่า "โรคเขตร้อน"(Tropical Diseases) ซึ่งอาจเกิดจากเชื้อได้มากมายหลายชนิด นับตั้งแต่เชื้อไวรัสซึ่งมีขนาดเล็กมากลงไปจนถึงสัตว์เซลล์เดียว และหนอนพยาธิต่าง ๆ
โรคติดต่อ ในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2523 ประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2523 โดยได้มีประกาศรัฐมนตรี เรื่องโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข และโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ ซึ่งจากข้อมูลในปี 2559 ระบุว่า โรคติดต่อ มีทั้งหมด 52 โรค โรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ มีทั้งหมด 23 โรค ปัจจุบันโรคติดต่อที่เป็นอันตรายหลายชนิดถูกควบคุมและกำจัดไปหมดแล้ว เช่น กาฬโรค ไข้ทรพิษ ส่วน โรคติดต่อ บางชนิดยังคงพบอยู่บ้างแต่ลดความรุนแรงของโรคลง เช่น อหิวาตกโรค แต่ก็ยังคงมีโรคติดต่อหลายชนิดปรากฎอยู่ และยังพบโรคติดต่อชนิดใหม่เกิดขึ้นอยู่ โรคติดต่อที่ยังพบในปัจจุบันมีอยู่หลายโรค แต่โรคติดต่ออะไรบ้างที่พบได้บ่อยในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก ที่ควรรู้จักไว้มี ไข้เลือดออก เลปโตสไปโรซิส ไข้หวัดและไข้หวัดใหญ่ โรคตาแดง และโรคอุจจาระร่วง เป็นต้น
เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก มีการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ให้ประสบผลสำเร็จ และ เกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการกำจัดพาหะนำโรค และแหล่งเกิดโรค รวมถึงการป้องกันตนเองของคนในชุมชน ทางชุมชนบ้านลำปลอก ได้ตระหนัก และเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ชมรมอสม.ม.10 จึงได้จัดทำโครงการโครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน ประจำปี 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน
- 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
- 3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในเขตรับผิดชอบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีแกนนำสุขภาพ ในการรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ
- อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อใน เขตรับผิดชอบ ลดลง ≥ร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในเขตรับผิดชอบ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน (3) 3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในเขตรับผิดชอบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรู้เท่าทัน ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1485-2-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเสกสรร ทองขวิด ประธานอสม. ม.10 บ้านทุ่งข่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......