กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน


“ โครงการสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสุชิน ขันนุ้ย ประธานอสม. ม.13 บ้านพรุราชา

ชื่อโครงการ โครงการสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1485-2-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1485-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ปี 2566 เป็นปีแห่งสุขภาพสูงวัยไทย เพื่อกระตุ้นเตือนให้ทุกคนตระหนักรู้ว่า ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างเต็มรูปแบบในปี 2572 จากรายงานของศูนย์วิจัยกสิกรไทยพบว่า การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนประชากรนี้จะนำมาซึ่งความจำเป็นเร่งด่วนในด้านบริการสาธารณสุข และการสนับสนุนด้านสุขภาพที่ครอบคลุม เพื่อรับมือกับวิกฤติครั้งใหม่เมื่อประเทศไทยแก่ตัวลง
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในเขตรพ.สต.บ้านลำปลอก มีจำนวน 320 คน ซึ่งชุมชนบ้านพรุราชา มีผู้สูงอายุ จำนวน 54 คน และผู้ที่มีอายุ 55-59 ปี จำนวน 28 คน ที่จะต้องเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุ  เป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยมีญาติหรือผู้ดูแล เนื่องจากปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่พบเจอบ่อย เช่น โรค ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคต่าง ๆ เหล่านี้จะส่งผลต่อสุขภาพของผู้สูงอายุที่จะเป็นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต และนำสู่ความพิการในอนาคตต่อไป ดังนั้น จึงจำเป็นที่หน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น รพ.สต. อบต. แกนนำสุขภาพในพื้นที่ ต้องช่วยกันเผยแผ่ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพและการให้ความรู้ใน การดูแลสุขภาพจำเป็นจะต้องดูแลทั้งทางร่างกายและจิตใจ อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุทำให้ผู้สูงอายุ ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติ ไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ทำให้ ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล ดังนั้น เพื่อให้มีการดูแลและเฝ้าระวังสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นไปอย่างต่อเนื่องยั่งยืน และมีศักยภาพในการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ ให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น
ทางชุมชนบ้านพรุราชา หมู่ที่ 13 โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขม.13 จึงได้จัดทำโครงการสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ. เพื่อให้แกนนำ ญาติ/อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สามารถดูแลและ ช่วยเหลือกันเองได้อย่างยั่งยืนและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรือผู้ดูแล
  2. เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ
  3. เพื่อให้แกนนำผู้สูงอายุมีความรู้ในสิทธิของผู้สูงอายุและสามารถช่วยเหลือตัวเองและผู้สูงอายุคนอื่นได้
  4. เพื่อให้ญาติและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ มีทักษะ สามารถให้การดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    2. ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองได้หลังรับการฟื้นฟูสมรรถภาพหรือ เป็นภาระแก่ ครอบครัวให้น้อยที่สุด
    3. ญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุ สามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนมาใช้ เพื่อการพัฒนา และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    4. ผู้สูงอายุสามารถให้ความช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ/ผู้พิการกันเองในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคน พิการ เพื่อให้ผู้สูงอายุ/ผู้พิการสามารถดำรงชีวิตร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข และมีส่วนช่วยเหลือสังคมทั้ง ทางเศรษฐกิจและสังคมอีกทางหนึ่ง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรือผู้ดูแล
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้แกนนำผู้สูงอายุมีความรู้ในสิทธิของผู้สูงอายุและสามารถช่วยเหลือตัวเองและผู้สูงอายุคนอื่นได้
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ญาติและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรือผู้ดูแล (2) เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ (3) เพื่อให้แกนนำผู้สูงอายุมีความรู้ในสิทธิของผู้สูงอายุและสามารถช่วยเหลือตัวเองและผู้สูงอายุคนอื่นได้ (4) เพื่อให้ญาติและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1485-2-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุชิน ขันนุ้ย ประธานอสม. ม.13 บ้านพรุราชา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด