กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายกรีฑาพล จิตประพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5210-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5210-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางโรคเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน เช่น การสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์มากเกินไป การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วนและไม่เหมาะสมทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกายและมีความเครียดจากครอบครัวและสังคม จากการศึกษาแนวปฏิบัติการบริการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงพบว่าปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ภาวะความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ ปัจจัยเสี่ยงรอง ได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมาก การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุลบริโภคอาหารที่เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งรับประทานผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ รวมทั้งประชาชนมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องและไม่ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคไม่ติดต่อเหล่านั้น ซึ่งจากผลการดำเนินงานการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงพบว่ากลุ่มชายหญิงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป เป้าหมายทั้งหมด 1,512 คนได้รับการคัดกรองเบาหวาน ไปจำนวน 941 คิดเป็น 62.23%พบกลุ่มปกติ จำนวน 853 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.64 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 88คนคิดเป็นร้อยละ 9.35และพบสงสัยป่วย 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.27 และพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน3 รายคิดเป็นร้อยละ 0.31ส่วน กลุ่มชายหญิงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ดำเนินงานการคัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงซึ่งมีเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 1,176 คนได้รับการคัดกรอง ไปจำนวน 922 คิดเป็นร้อยละ 78.40 พบกลุ่มปกติ จำนวน 843 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.43พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน79 คน คิดเป็นร้อยละ 8.56 และพบสงสัยป่วย ความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.19 และพบผู้ป่วยรายใหม่ความดันโลหิตสูง จำนวน4 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.12
ดังนั้นเพื่อเป็นการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นและเพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้เกิดความตระหนักในการสร้างภูมิคุ้มกัน เฝ้าระวัง และดูแลตนเองให้มีพฤติกรรมลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางกล่ำ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อผลักดันให้ประชาชนประชาชนที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยมีการ ส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ(อาหารออกกำลังกายอารมณ์ ) 2 ส. ( สุราสารเสพติด ) มีกิจกรรมของหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคเรื้อรังเพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ลดปัจจัยเสี่ยงและลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีสุขภาพดีได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังก็จะได้รับการดูแลตามมาตรฐานเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ. ( อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ) 2 ส.(สุรา สารเสพติด )และไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย
  2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามมาตรฐานและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2567

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3อ. 2ส( อาหารออกกำลังกายอารมณ์ ) 2 ส.(สุราสารเสพติด )และไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย 2.กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามมาตรฐานและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ. ( อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ) 2 ส.(สุรา สารเสพติด )และไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ) 2 ส.(สุรา สารเสพติด )และไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามมาตรฐานและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมให้กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามมาตรฐานและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง  3 อ.  (  อาหาร  ออกกำลังกาย  อารมณ์ ) 2 ส.(สุรา  สารเสพติด )และไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย (2) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามมาตรฐานและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2567

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5210-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกรีฑาพล จิตประพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด