กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม


“ โครงการชุมชนใส่ใจ เฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 ”

ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิริกุล รักสกุล

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนใส่ใจ เฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1535-1-02 เลขที่ข้อตกลง 06/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนใส่ใจ เฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนใส่ใจ เฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนใส่ใจ เฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1535-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สำหรับตำบลปากคม ผลการดำเนินงานโครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขาดการคัดกรองโรคต่อเนื่องเป็นระยะเวลา ๓ ปี ล่าสุดปีงบประมาณ ๒๕๖๖ โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากคม  มีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี คิดเป็นร้อยละ 42.64  ได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนจำนวน  272  คน พบผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางตาคิดเป็นร้อยละ 64.47  และมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าคิดเป็นร้อยละ 73.60  นอกจากนี้มีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้ (ค่า HbA1c > ๗ mg%) จำนวน 103  ราย คิดเป็นร้อยละ 69.12  สำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงพบว่า มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี คิดเป็นร้อยละ 58.26  ผุ้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางไตจำนวนคิดเป็นร้อยละ 68.92 ได้รับการคัดกรองโรคหัวใจและหลอดเลือด ( CVD RISK) จำนวน  148  คน คิดเป็นร้อยละ 99.33  พบว่า มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดคัดกรอง CVD RISK > ๒๐% จำนวน  149 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.33 ถึงแม้ว่าจะมีการเฝ้าระวังคัดกรองโรคอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบว่า มีประชาชนกลุ่มป่วยเบาหวานส่วนหนึ่งที่ยังมีพฤติกรรมไม่ถูกต้องและขาดความตระหนักในการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงตามมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
  5. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนกลุ่มป่วย ดูแล ติดตาม เฝ้าระวังโรคเบื้องต้น ลดการเกิดและการเกิดของโรคไม่ติดต่อและเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อนในชุมชน
  2. ติดตาม/เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน/แจ้งเตือนสภาวะสุขภาพการเกิดโรคและการเฝ้าระวังควบคุมการเกิดภาวะแทรกซ้อนให้กลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคไม่ได้ /ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรณีควบคุมโรคไม่ได้เกิดภาวะแทรกซ้อน
  3. เครื่องวัดความดันโลหิตชนิดดิจิตอล ๓ เครื่องเครื่องละ ๒,๕๐๐ บาท
  4. ค่าจัดซื้อเครื่องเจาะระดับน้ำตาลในเลือด เครื่องละ ๑,๘๐๐ บาท จำนวน ๓ เครื่อง
  5. กระปุกสำลีจำนวน ๓กระปุกๆละ ๒๕๐ บาท
  6. กล่องกระเป๋าจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์การ เฝ้าระวังตรวจ คัดกรองโรคในกลุ่มป่วยจำนวน ๓ กล่องๆละ ๒๕๐ บาท
  7. แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ๔๓๐ บาท
  8. นวัตกรรมแบบันทึกติดตามกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๑๒๐ ชุดๆละ ๒ บาท
  9. บัตรเตือนใจห่วงใยสุขภาพกลุ่มป่วย จำนวน ๑๒๐ ชุดๆ ละ ๑๐ บาท
  10. แฟ้มเก็บเอกสารจำนวน ๒๐ แฟ้มๆละ ๕๕ บาท
  11. ค่าปากกาจำนวน ๒๐ ด้ามๆละ ๖ บาท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลสุขภาพ และส่งต่อเพื่อรักษาอย่างถูกต้อง
๒. แกนนำ อสม.และชุมชนเครือข่ายสุขภาพมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน และส่งผลให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถควบคุมโรคให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ลดการเกิดภาวะโรคแทรก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
50.00 10.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
50.00 10.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
30.00 5.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง
10.00 1.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
10.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก (5) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนกลุ่มป่วย ดูแล ติดตาม เฝ้าระวังโรคเบื้องต้น ลดการเกิดและการเกิดของโรคไม่ติดต่อและเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อนในชุมชน (2) ติดตาม/เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน/แจ้งเตือนสภาวะสุขภาพการเกิดโรคและการเฝ้าระวังควบคุมการเกิดภาวะแทรกซ้อนให้กลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคไม่ได้ /ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรณีควบคุมโรคไม่ได้เกิดภาวะแทรกซ้อน (3) เครื่องวัดความดันโลหิตชนิดดิจิตอล ๓ เครื่องเครื่องละ ๒,๕๐๐ บาท (4) ค่าจัดซื้อเครื่องเจาะระดับน้ำตาลในเลือด เครื่องละ ๑,๘๐๐ บาท จำนวน ๓ เครื่อง (5) กระปุกสำลีจำนวน ๓กระปุกๆละ ๒๕๐ บาท (6) กล่องกระเป๋าจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์การ    เฝ้าระวังตรวจ  คัดกรองโรคในกลุ่มป่วยจำนวน ๓ กล่องๆละ ๒๕๐ บาท (7) แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ๔๓๐ บาท (8) นวัตกรรมแบบันทึกติดตามกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๑๒๐ ชุดๆละ ๒ บาท (9) บัตรเตือนใจห่วงใยสุขภาพกลุ่มป่วย จำนวน ๑๒๐  ชุดๆ ละ ๑๐ บาท (10) แฟ้มเก็บเอกสารจำนวน ๒๐ แฟ้มๆละ ๕๕ บาท (11) ค่าปากกาจำนวน ๒๐ ด้ามๆละ ๖ บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนใส่ใจ เฝ้าระวังภัยแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1535-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสิริกุล รักสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด