กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจริญญา เอี้ยวซิโป

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste)

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5295-2-01 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5295-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,095.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี เนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่เปลี่ยนไป การจัดการขยะที่ต้นทาง แนวคิด ขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) เป็นแนวคิดในการส่งเสริมการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ เพื่อให้ทรัพยากรถูกใช้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและลดขยะให้เหลือน้อยที่สุด โดยใช้หลักการ 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) รวมทั้งการออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้มากที่สุด เพื่อเป็นการลดปริมาณของเสียที่ต้องส่งไปกำจัดโดยวิธีการฝังกลบหรือเตาเผาให้มีปริมาณน้อยที่สุด หัวใจสำคัญของแนวคิด ขยะเหลือศูนย์ คือการจัดการขยะที่ต้นทาง เน้นการลดขยะ ณ แหล่งกำเนิด การใช้ซ้ำ การคัดแยกเพื่อนำกลับมารีไซเคิลก่อนนำไปกำจัด ซึ่งแตกต่างจากการจัดการขยะในปัจจุบันที่เน้นการกำจัดหรือจัดการขยะที่ปลายทางมากกว่าการแก้ไขที่ต้นทาง การลด แยกขยะ ให้มีประสิทธิภาพควรเริ่มจากต้นทางที่บ้านของตนเอง โดยสถานศึกษาต้องเป็นต้นแบบให้ความรู้ที่ถูกต้อง รวมถึงบริบทของสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างวินัยในการลดการใช้ขยะ การคัดแยกขยะ การจัดการขยะที่ถูกต้องและมีความยั่งยืน     โรงเรียนบ้านทุ่งดินลุ่ม ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาขยะมูลฝอย จึงจัดทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) ประจำปี ๒๕๖๗ ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกจิตสำนึกการลด การคัดแยกขยะมูลฝอยและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในโรงเรียน โดยดำเนินการตามแนวคิด การจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) ตามหลัก ๓Rs คือ Reduce หรือการลดปริมาณขยะ Reuse หรือการใช้ซ้ำ และ Recycle หรือการนำกลับมาใช้ใหม่ เพื่อให้โรงเรียนเกิดความสะอาด มีระเบียบวินัย โดยการจัดตั้งฐานการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ให้นักเรียนได้เรียนรู้แต่ละฐาน นักเรียนเกิดการเรียนรู้และเชื่อมโยงไปถึงชุมชนให้เข้ามามีสวนร่วมกับโรงเรียนอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
  2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเห็นความสำคัญและสามารถปฏิบัติในเรื่องการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้
  3. เพื่อลดปริมาณขยะทั่วไปในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้แก่นักเรียนและบุคลากร
  2. ฐานการเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 177
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้เรื่องการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
  2. ครู นักเรียน และบุคลากรโรงเรียนบ้านทุ่งดินลุ่ม ร้อยละ ๑๐๐ เข้าร่วมโครงการโรงเรียนปลอดขยะ
  3. ปริมาณขยะทั่วไปที่ฝากกำจัดมีปริมาณลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดกรขยะมูลฝอย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
90.00

 

2 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเห็นความสำคัญและสามารถปฏิบัติในเรื่องการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียน สามารถลดขยะ คัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้อย่างถูกวิธี
90.00

 

3 เพื่อลดปริมาณขยะทั่วไปในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะทั่วไปที่ฝากไปกำจัดมีปริมาณลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 192
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 177
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ (2) เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเห็นความสำคัญและสามารถปฏิบัติในเรื่องการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ (3) เพื่อลดปริมาณขยะทั่วไปในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่นักเรียนและบุคลากร (2) ฐานการเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5295-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจริญญา เอี้ยวซิโป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด