กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ


“ โครงการดูแลมารดาและทารกหลังคลอด ”

ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกรรณิกา เพชรสิงห์

ชื่อโครงการ โครงการดูแลมารดาและทารกหลังคลอด

ที่อยู่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3361-2-1 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลมารดาและทารกหลังคลอด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลมารดาและทารกหลังคลอด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลมารดาและทารกหลังคลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3361-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 1 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอด หมายถึง การส่งเสริม การฟื้นฟู การป้องกันและการรักษาสุขภาพของหญิงในระยะหลังคลอดเชื่อว่้าหญิงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายหลายอย่าง เช่นน้ำหนักตัว สริระร่างกาย หน้าท้องและผิวพรรณต่างๆทำให้หลังคลอดมารดามีอาการปวดเมื่อยหรืออักเสบของกล้ามเนื้อบริเวณสันหลัง และต้นขา จึงมีการคิดวิธีบรรเทาอาการดังกว่า โดยอาศัยภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อฟื้นฟูร่างกายของมารดาหลังคลอด และปรับสมดุลในร่างกายให้กลับมาเป็นปกติโดยเร็ว โดยใช้ความร้อน และสมุนไพรใกล้ตัวเป็นตัวช่วย   ปัจจุบันการปฏิบัติตัวหลังคลอดนิยมทำกัน มีหลายวิธี โดยส่วนใหญ่แล้วเมื่อออกจากโรงพยาบาลกลับมาดูแลตนที่บ้าน หญิงหลังคลอดจะรับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบที่เชื่อว่าจะช่วยขับน้ำนม ขับน้ำคาวปลา การอาบน้ำต้มสุนไพรอุ่นๆ เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายปรับสมดุลเกิดการกระตุ้นระบบขับถ่ายของเสียในร่างกาย การอบไอน้ำสมันไพรโดยประยุกต์อุปกรณ์ต่างๆให้เหมาะสม เกิดความสะดวกสบายเช่นทำเป็นกระโจมผ้า หรือไปอบตามร้านเสริมสวย การบีบนวดส่วนต่างๆที่มีอาการปวดเมื่อย การรับประมานยาสมุนไพรเพื่อขับคาวปลา บำรุงเลือด บำรุงร่างกาย รวมถึงการดูแผิวพรรณให้กลับมามีสภาพเหมือนก่อนตั้งครรภ์ จากข้อมูลการรับบริการของหญิงตั้งครรรภ์ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ งบประมาณปี พ.ศ.2566 พบว่าหญิงมีครรภ์และคลอดบุตรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 27 ราย ชาวต่างชาติ 5 รายโดยมารดาหลังคลอดที่ปฏิเสธการรับบริการที่เหตุผลว่าไม่สะดวกต่อการเดินทางเข้ามารับบริการ หรือต้องใช้เวลานานในการเข้ารับบริการโดยต้องฝากบุตรที่เพิ่งคลอดไว้กับบุคคลในครอบครัวเป็นต้น ทั้งนี้การให้บริการในสนถานบริการและออกเยี่ยมบ้านโดยให้บริการดังนี้ การนวดหลังคลอดการนวดกระตุ้นในกรณีน้ำนมไหลน้อยและคัดตึงเต้านมตลอดจนให้ความรู้คำแนะนำเกียวกับการรับประทานอาหาร การปฏิบัติตัวและการทำกายภาพบริหารมารดาหลังคลอด   ปัจุบันการตั้งครรภ์มีมากขึ้นโดยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ ปี 2566 มีมารดาหลังคลอด27 พม่า 5คนได้รับการเยี่ยมครบ3 ครั้ง จำนวน 27 รายคิดเป็นร้อยละ 100(งานแม่และเด็ก รพ.สต.ลำปำ)หญิงหลังคลอดยังขาดความรูู้ในการดูแลสุขภาพ การฟื้นฟูสภาพร่างกายให้เข้าสู้สภาพปกติได้โดยเร็ว เป็นเรื่องสำคัญตลอดจนการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารบำรุงสุขภาพ อาหารบำรุงน้ำนม เป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อฟื้นฟูสรรถภาพมารดาหลังคลอด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ลดอาการปวดท้องน้อย ลดปวดกล้ามเนื้อตามอวัยวะต่างๆและทำให้น้ำนมไหลสะดวกขึ้นให้มารดาคืนสู่สภาพปกติและแข็งแรงได้โดยเร็ว
  2. 2.ส่งเสริมให้ทารกดื่มนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
  3. 3.มารกไม่เกิดภาวะเเทรกซ้อนหลังคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมเยี่ยมกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 20 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มารดาหลังคลอดได้เข้ารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ และออกเยี่ยมบ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบโดย อสม.(กลุ่มมารดาหลังคลอด) 2.มารดาหลังคลอดได้รับการฟื้นฟูและมีภาวะสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจโดยรวดเร็วไม่มีภาวะแทกซ้อนอันตรายหลลังคลอด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อฟื้นฟูสรรถภาพมารดาหลังคลอด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ลดอาการปวดท้องน้อย ลดปวดกล้ามเนื้อตามอวัยวะต่างๆและทำให้น้ำนมไหลสะดวกขึ้นให้มารดาคืนสู่สภาพปกติและแข็งแรงได้โดยเร็ว
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ร้อยละ 100 มารดาหลังคลอดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ(ม1,4,5,6,7,9,10)จำนวน 20 คนเข้าร่วมโครงการตัวชี้วัดเชิงคุณภาพร้อยละ 50 มารดาหลังคลอดเข้าร่วมโครงการฟื้นฟูตัวชี้วัดเชิงความพึงพอใจ ร้อยละ 80 ของมารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการพึงพอใจ
0.00

 

2 2.ส่งเสริมให้ทารกดื่มนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ทารกดื่มนมแม่ต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย

 

3 3.มารกไม่เกิดภาวะเเทรกซ้อนหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 3.ทารกไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 60

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อฟื้นฟูสรรถภาพมารดาหลังคลอด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ลดอาการปวดท้องน้อย ลดปวดกล้ามเนื้อตามอวัยวะต่างๆและทำให้น้ำนมไหลสะดวกขึ้นให้มารดาคืนสู่สภาพปกติและแข็งแรงได้โดยเร็ว (2) 2.ส่งเสริมให้ทารกดื่มนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน (3) 3.มารกไม่เกิดภาวะเเทรกซ้อนหลังคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมเยี่ยมกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 20 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลมารดาและทารกหลังคลอด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3361-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกรรณิกา เพชรสิงห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด