กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ) ”
อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางนูรอาซีกีนอาคุณซาดา




ชื่อโครงการ โครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ)

ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L7885-1-38 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L7885-1-38 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเจริญเติบโตของเด็ก ถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสุขภาพโดยส่วนรวม นั่นคือ สติปัญญาพัฒนาการ และการเจ็บป่วย เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม (Intrauterine growth retardation) และเด็กที่มีภาวะตัวเตี้ย (Stuned child) โดยเฉพาะในช่วง ๓ ปีแรกของชีวิตเป็นผลให้เด็กเจ็บป่วยบ่อย หายช้า และรุนแรงถึงชีวิต ผลทางด้านการพัฒนาสมอง เด็กมีสติปัญญาต่ำ พัฒนาการล่าช้า ซึ่งแก้ไขได้ยาก สติปัญญาและพัฒนาการอาจเพิ่มขึ้นได้ แต่ไม่เท่ากับเด็กที่มีการเจริญเติบโตดี เมื่อเข้าโรงเรียนเด็กกลุ่มนี้จะมีโอกาสเรียนในระดับสูงได้น้อยเพราะความสามารถในการเรียนรู้ไม่ดี ภาวะโภชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิต โดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่แรกเกิดจนถึง ๗๒ เดือน เนื่องจากการเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกาย การเจริญเติบโตของเด็กจึงถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสุขภาพโดยรวม การขาดอาหารในเด็กมีผลเสียถึง ๔ ช่วงอายุ คือ ปัจจุบัน วัยเรียน วัยผู้ใหญ่และวัยชรา ตลอดจนผลต่อรุ่นลูกรุ่นหลานเป็นวงจรเช่นนี้ต่อกันไปเรื่อยๆ อาหารจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพรวมทั้งพัฒนาการของเด็ก เด็กที่กินอาหารครบ ๕ หมู่มีความหลากหลายในปริมาณที่เหมาะสม เด็กจะมีการเจริญเติบโตดี ฉลาดเรียนรู้เร็ว สนใจต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นผลทำให้พัฒนาการเด็กเหมาะสมตามวัย แต่ในทางตรงกันข้ามเด็กที่ได้รับอาหารไม่เพียงพอ ย่อมมีผลทำให้พัฒนาการทางสมองไม่ดี เรียนรู้ช้าเป็นผลให้พัฒนาการไม่เหมาะสมตามวัย แม้เด็กจะได้รับการกระตุ้นพัฒนาการก็จะไม่สามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้หากยังไม่ได้รับการแก้ไขเรื่องการขาดอาหารของเด็กเสียก่อน
จากรายงานภาวะโภชนาการในเด็ก ๐ - ๗๒เดือน ในปีงบประมาณ๒๕๕๙พบว่ามีเด็ก ๐ - ๗๒ เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ ๓๘ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ประกอบกับผู้ปกครองเด็กยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการ และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องรวมทั้งผู้ปกครองมีบุตรมากทำให้ไม่มีเวลาดูแลบุตร ดังนั้นเทศบาลเมืองนราธิวาสจึงได้จัดทำโครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการของเด็ก ๐ - ๗๒เดือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาเด็กขาดสารอาหารรายใหม่ เพื่อติดตามและดูแลเด็กขาดสารอาหารทั้งรายใหม่และรายเก่าอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก สามารถจัดหาอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับวัยให้แก่เด็กที่ขาดสารอาหารได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้เด็กขาดสารอาหารมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  4. เพื่อวิเคราะห์หาปัญหาและสาเหตุการขาดสารอาหารของเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กขาดสารอาหารได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีภาวะโภชนาการเพิ่มขึ้น 2.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการจัดหาอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมแก่เด็ก 3.เด็กขาดสารอาหารมีสุขภาพแข็งแรงไม่เจ็บป่วยบ่อย 4.ผู้ปกครองเด็กและเจ้าหน้าที่ทราบถึงปัญหาที่ทำให้เด็กขาดสารอาหารและหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดซื้ออาหารเสริมที่มีโปรตีนและพลังงานสูงแก่เด็กขาดสารอาหาร

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเด็กขาดสารอาหารที่ได้รับสารอาหารที่มีโปรตีนสูง(นม) 28 ราย

     

    28 28

    2. บรรยายให้ความรู้

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมอบรมความรู้ เกี่ยวกับ สารอาหารที่ควรได้รับแก่เด็กขาดสารอาหาร

     

    100 120

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ ๑ การบรรยายหาความรู้ เกี่ยวกับสารอาหารที่ควรได้รับแก่เด็กขาดสารอาหาร มีผู้เข้าร่วมอบรม 100 คน กิจกรรมที่่ ๒ จัดซื้ออาหารเสริมที่มีโปรตีนและพลังงานสูงแก่้ด็กขาดสารอาหาร (นม) จำนวนเด็กขาดสารอาหารที่เข้าร่วมโครงการ 28 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อค้นหาเด็กขาดสารอาหารรายใหม่ เพื่อติดตามและดูแลเด็กขาดสารอาหารทั้งรายใหม่และรายเก่าอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : สามารถติดตามและดูแลเด็กขาดสารอาหารอย่างต่อเนื่อง

     

    2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก สามารถจัดหาอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับวัยให้แก่เด็กที่ขาดสารอาหารได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เกี่ยวกับการจัดหาอาหารที่มีคุณค่าแก่เด็กที่ขาดสารอาหาร

     

    3 เพื่อให้เด็กขาดสารอาหารมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : เด็กขาดสารอาหารน้ำหนักขึ้นกว่าเดิม

     

    4 เพื่อวิเคราะห์หาปัญหาและสาเหตุการขาดสารอาหารของเด็ก
    ตัวชี้วัด : สามารถทราบสาเหตุของการขาดสารอาหารเด็ก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาเด็กขาดสารอาหารรายใหม่ เพื่อติดตามและดูแลเด็กขาดสารอาหารทั้งรายใหม่และรายเก่าอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก สามารถจัดหาอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับวัยให้แก่เด็กที่ขาดสารอาหารได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้เด็กขาดสารอาหารมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (4) เพื่อวิเคราะห์หาปัญหาและสาเหตุการขาดสารอาหารของเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L7885-1-38

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนูรอาซีกีนอาคุณซาดา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด