กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง


“ โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลบางขุนทอง ปี 2567 ”

ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลบางขุนทอง ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2484-2 เลขที่ข้อตกลง 16/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2024 ถึง 30 กันยายน 2024


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลบางขุนทอง ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลบางขุนทอง ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลบางขุนทอง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางขุนทอง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2484-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2024 - 30 กันยายน 2024 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางขุนทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลัการและเหตุผล จากสถานการณ์โรคในเขตตำบลบางขุนทอง ในปี 2559 – 2564 พบผู้ป่วยจำนวน 4, 9, 0, 8, 9 และ 4 ราย ตามลำดับ ตำบลบางขุนทองมีผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2535 จนถึง ปี 2564 แม้ใน ปี 2559 และ 2561 จะมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ในอัตราที่ต่ำ แต่ปี 2562 มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบางขุนทอง ซึ่งมีอัตราป่วยสูงมาก ถึง 154.41 ต่อแสนประชากร และตำบลอื่นๆที่อยู่รอบๆข้างก็มีการระบาดของโรค ทุกปี ประชากรในตำบลบางขุนทองก็มีการเดินทางไปหาญาตินอกพื้นที่ หลายครั้งที่ประชาชน ไปรับเชื้อจากที่อื่น และกลับมาป่วยที่บ้าน การที่ประชาชนไปมาหาสู่กันอย่างต่อเนื่องนี้โรคไข้เลือดออกจึงยังเป็นปัญหาที่สำคัญของประชาชนในหมู่บ้าน เพื่อการป้องกันโรคไข้เลือดออก ที่ได้ผลและมีประสิทธิภาพนั้น จึงจำเป็นจะต้องร่วมมือกันทุกๆ ฝ่าย ทั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน โรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ ร่วมบูรณาการกัน ป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคตลอดเวลา เช่น การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง ไม่ให้มีลูกน้ำยุง สุ่มสำรวจความชุกลูกน้ำยุง ใส่ทรายฆ่าลูกน้ำยุง รณรงค์ให้ประชาชนเกิดความตื่นตัวในการกำจัดขยะ การป้องกันและควบคุมโรค สร้างแรงจูงใจในการดำเนินงานในพื้นที่ตำบลบางขุนทองต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยกลุ่มโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย
  2. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การป้องกันโรคไข้เลือดออกและการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลาย
  2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
  2. เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชน องค์กรในชุมชน ในการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่นำโดยแมลงอย่างต่อเนื่องและสมำ่เสมอ
  3. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยกลุ่มโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนทุกกลุ่มวัยในชุมชนไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
0.00

 

2 เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้
0.00

 

3 เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ชุมชนร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวน และอัตราป่วยด้วยกลุ่มโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย (2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมน ให้ช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การป้องกันโรคไข้เลือดออกและการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลาย (2) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ป้องกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังชุมชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลบางขุนทอง ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2484-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด