กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา ปี 2567 ”

ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลนิคมพัฒนา

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา ปี 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) คือมีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไปมากกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ และอีก 9 ปีข้างหน้า ในปี 2574 จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับ สุดยอด (Super-Aged Society) มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินกว่า 28% ของประชากรทั้งประเทศ อันเป็นผลมาจากอัตราการเกิดที่ลดลงและความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ทำให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น ซึ่งการที่ประชากรวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศต้องมีรายจ่ายด้านสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ครอบครัวต้องแบกรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ขณะที่ผู้สูงอายุเองเมื่อมีอายุยืนยาวขึ้นก็ยิ่งต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนรายได้หรือมีรายได้ไม่เพียงพอแก่การดำรงชีพ รวมถึงความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่าง ๆ ความพิการหรือทุพพลภาพ ประกอบกับปัจจุบันสังคมออนไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ผู้สูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดน้อยลง สังคมก้มหน้าเริ่มเป็นภัยมืดที่น่ากลัวสำหรับสัมพันธภาพในครอบครัว ลูกหลานเริ่มให้เวลากับสมาร์ทโฟนมากกว่าการสนทนา ซึ่งกันและกัน ส่งผลให้เกิดช่องว่างทางความรู้สึกและบรรยากาศความเงียบในครอบครัวมีเพิ่มยิ่งขึ้น ผู้สูงอายุจึงแยกปลีกตัวมาอยู่ในมุมของตนเองตามลำพัง ยิ่งส่งผลให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิตแยกตัวออกจากสังคม มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง อาจ ส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ผู้ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการดูแล ผู้สูงอายุได้แก่ บุคคลในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ที่ต้องเข้าใจให้ถึงก้นบิ้งความรู้สึกของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุเป็นบุคคลสำคัญที่สถาบันครอบครัวไทยให้การเคารพยกย่องอย่างสูง เพราะเป็น บุคคลที่ประสบการณ์ในชีวิตสูง เป็นผู้ถ่ายทอดความสามารถ ประเพณี วัฒนธรรมและค้ำจุนจิตใจ ให้แก่บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างต่อเนื่อง แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันความสามารถเสื่อมถอย ต้องอาศัยญาติและครอบครัวคอยดูแล ทำให้เป็นภาระผลกระทบต่อภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุ เกิดจากขบวนการสูงวัยและโรคต่างๆมากมายทำให้เกิดปัญหา ทั้งด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต เศรษฐกิจ สังคม ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว และปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง ถูกทอดทิ้งจากลูกหลาน เป็นกลุ่มประชาชนที่ใช้บริการสุขภาพสูงกว่าวัยอื่นๆ และจะต้องใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในด้านการรักษาพยาบาล ผู้สูงอายุในพื้นที่ เขตตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล มีทั้งหมด 1,018 คน โดยแบ่งเป็นช่วงอายุ มีจำนวนผู้สูงอายุมี 60-69 ปีจำนวน 665 คน ,อายุ 70-79 ปีจำนวน 208 คน อายุ 80-89 ปี จำนวน114 คน และ อายุ 90 ปีขึ้นไป จำนวน 31 คน และจากผลการประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) เพื่อแยกประเภทของกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่า เป็น ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม (ช่วยเหลือตัวเองได้ดี ) จำนวน 992 คน คิดเป็นร้อยละ 97.45 กลุ่มติดบ้าน (ช่วยเหลือ ตัวเองได้บ้าง) จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 2.06 และกลุ่มติดเตียง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 0.49 อย่างไรก็ตามทางพื้นที่และภาคีเครือข่าย บริหารจัดการการดูแลกลุ่มติดบ้านและติดเตียงด้วยระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาวและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง โดยการขับเคลื่อนของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะ พึ่งพิงตำบลนิคมพัฒนา ส่วนในกลุ่มติดสังคม ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ที่มีจำนวนผู้สูงอายุมากกว่ากลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิงจำเป็นที่จะต้องได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จำเป็น ตลอดจนเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมแก่บุคคลอื่น เพื่อสืบสานภูมิปัญญาให้คงคุณค่ากับชุมชน การรวมกลุ่มจัดกิจกรรมสำหรับสูงอายุ จึงไม่ได้เป็นแค่เพียงเพื่อการรวมกลุ่มพบปะพูดคุยกันเท่านั้น แต่ยังจำเป็นต้องมีกิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของ ผู้สูงอายุ และขยายกิจกรรมจากที่มีการดำเนินการอยู่แล้ว ยังมีการพัฒนาต่อๆ ไป เพื่อยึดส่งเสริมสุขภาพและยึดระยะเวลาการเจ็บป่วย หรือการเกิดภาวะแทรกซ้อน ของผู้สูงอายุต่อไป ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึงพิงตำบลนิคมพัฒนาเล็งเห็นความสำคัญ ของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก ซึ่งจะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุเป็นวัยที่ผ่านการทำงานมาเป็นเวลายาวนาน แต่เมื่อก้าวมาสู่วัยชรานั้นคือว่าเป็นภาระหน้าที่ของครอบครัวและชุมชน และประเทศชาติดังนั้นกลุ่มนี้ต้องได้รับการตอบแทนสนับสนุนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในด้านปัจจัย 4 รวมไปถึงการเตรียม ควาย่อนขอารอ และร้องสารคารอยู่ได้ยามีทยาพ ในการส่งเริ่นสุขภาพนเองน้นหรือ การสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มในผู้สูงอายุได้มีการพบปะสังสรรค์และแลกเปลี่ยนความรู้ และช่วยเหลือกันใน ด้านสุขภาพอนามัย สันทนาการกับคนวัยเดียวกันตลอดจนการออกกำลังกายโดยใช้กิจกรรมต่างๆมาเป็นการเชื่อมคนในชุมชนให้สามารถดำรงอยู่ได้ในชุมชนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีคุณภาพที่เหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ 2 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพตนเอง 3 เพื่อเสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุจากการเข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    8.1 เกิดเครือข่ายผู้สูงอายุด้านต่างๆ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ลดอัตราการเกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุทำให้มีสุขภาพแข็งแรง กระฉับกระเฉง ลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วย 8.2 ผู้สูงอายุได้คลายเหงา จิตใจกระชุ่มกระช่วย สดชื่น รู้สึกภาคภูมิใจ และตระหนักในคุณค่า และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนวัยเดียวกันและคนต่างวัย ได้รับการยอมรับในฐานะสมาชิกของกลุ่ม 8.3 เกิดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ 8.4 ผู้สูงอายุเกิดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนแนวทาง วิธีการในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตจากกลุ่มอื่น ๆ ถ่ายทอดประสบการณ์ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นให้ดำรงสืบทอดเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทำประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม รวมทั้งอาจเป็นแรงผลักดันให้เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ 2 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพตนเอง 3 เพื่อเสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุจากการเข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    ตัวชี้วัด : 1 ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุุ เข้าร่วมอบรมตามเกณฑ์กิจกรรมกลุ่มทั้งหมด 2. ผู้สูงอายุมีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ ได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม ร้อยละ 90 (ก่อน-หลังอบรม) 3. ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรม มีสุขภาพกายและจิตทีสมบูรณ์ แข็งแรง โดยวิธีสังเกตุและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ  และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ  2 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแล  ส่งเสริมสุขภาพตนเอง  3 เพื่อเสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง  ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุจากการเข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา ปี 2567 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลนิคมพัฒนา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด