กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอาหารปลอดภัย ห่างไกลโรค ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุทิน หลำหม๊ะ นักวิชาการสุขาภิบาลชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอาหารปลอดภัย ห่างไกลโรค

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-02 เลขที่ข้อตกลง 4/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอาหารปลอดภัย ห่างไกลโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอาหารปลอดภัย ห่างไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอาหารปลอดภัย ห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 161,215.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันวัฒนธรรมการบริโภคอาหารของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่นิยมประกอบอาหารเพื่อบริโภคเอง โดยเปลี่ยนเป็นนิยมบริโภคอาหารนอกบ้านหรืออาหารปรุงสำเร็จ สถานที่จำหน่ายอาหารจึงมีผลกระทบสำคัญต่อสุขภาพประชาชน จากสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญสำหรับประเทศไทย ในแต่ละปีมีรายงานผู้ป่วยตลอดทั้งปี ส่วนใหญ่มีการระบาดเป็นวงกว้างทำให้มีผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก และอาการของโรคอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น ไตวาย หรือถึงแก่ชีวิตได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็กและผู้สูงอายุ ซึ่งโรคติดต่อทางอาหารและน้ำที่เป็นปัญหาสำคัญที่ควรเร่งรัดดำเนินการได้แก่ โรคอาหารเป็นพิษ อหิวาตกโรค โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และโรคไวรัสตับอักเสบ เอ ซึ่งโรคอาหารเป็นพิษมีอัตราป่วยอยู่ใน 10 อันดับแรกของโรคที่อยู่ในระบบเฝ้าระวังของสำนักระบาดวิทยา จากสถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ.2555 – 2559) พบว่า อัตราป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษต่อประชากรแสนราย เท่ากับ 187.78, 205.51, 209.61, 199.06 และ 211.83 ตามลำดับและผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษปี 2555 มีจำนวน 119,392 เพิ่มขึ้นเป็น 138,595 รายในปี 2559 แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มสถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษที่มีเพิ่มขึ้น โดยโรคอาหารเป็นพิษสามารถพบได้ตลอดทั้งปี สาเหตุมักเกิดจากการรับประทานอาหาร หรือน้ำ ที่ปนเปื้อนเชื้อโรค (แบคทีเรีย ไวรัส หรือพยาธิ) สารพิษที่เชื้อสร้างขึ้นในอาหาร สารพิษที่เชื้อโรคสร้างขึ้นในร่างกายภายหลังจากรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไป หรือสารพิษจากสิ่งอื่น ๆ หรือปนเปื้อนภายหลังจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของสุขอนามัยส่วนบุคคล ผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าวสามารถแพร่เชื้อได้ทางอุจจาระ และหากเป็นผู้ประกอบอาหาร หรือพนักงานเสิร์ฟอาหารจะมีโอกาสแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้มาก
สำหรับสถานการณ์โรคอุจจาระร่วงจังหวัดสงขลา 1 ม.ค. – 15 ก.พ.66 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาได้รับรายงานโรคอุจจาระร่วง (Acute Diamhoea) จำนวนทั้งสิ้น 2,824 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 197.27 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 0 – 4 ปี คิดเป็นอัตราป่วย 703.02 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน รองลงมาคือกลุ่ม 5 – 9 ปี, 25 – 34 ปี ตามลำดับ อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรหนึ่งแสนคนสูงสุดคืออำเภอบางกล่ำ อัตราป่วยเท่ากับ 291.00 ต่อประชากรแสนคน รงลงมาคืออำเภอสะเดา, อำเภอระโนดตามลำดับ ส่วนสถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษจังหวัดสงขลา ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ (Food Poisoning) จำนวนทั้งสิ้น 184 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 12.85 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือแรกเกิด – 4 ปี คิดเป็นอัตราป่วย 36.8 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือกลุ่มอายุ 5 – 9 ปี, 10 – 14 ปี ตามลำดับ อำเภอที่มีผู้ป่วยสูงสุดคืออำเภอสะบ้าย้อย รองลงมาคืออำเภอนาหม่อม และอำเภอเมืองสงขลา ตามลำดับ (ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา)

ดังนั้น เพื่อลดป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษ (Food Poisoning) ในแหล่งท่องเที่ยวภายในเขตเทศบาลนครสงขลา งานสุขาภิบาลฯ ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอาหารปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อป้องกันการป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษ ในแหล่งท่องเที่ยว
  2. 2.ส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ของผู้ประกิบด้านอาหารและผู้ช่วยจำหน่ายอาหารรวมถึงนักท่องเที่ยงและประชาชนทั่วไปที่ใช้บริการสถานประกอบการจำหน่ายอาหารให้มีความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการด้านอาหาร และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบติงาน
  2. กิจกรรมตรวจแนะนำผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 500 ราย ตามแบบตรวจแนะนำกรมอนามัย กระทรางสาธารณสุข
  3. กิจกรรมจัดเก็ยตัวอย่างอาหารเพื่อหาสารปนเปื้อนในอาหาร รวมถึงสารปนเปื้อนที่เป็นเหตุให้เกิดโรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษ
  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  5. ค่าอาหารกลางวัน
  6. ค่าตอบแทนวิทยากร
  7. ค่าจัดทำคู่มือหลักการสุขาภิบาลอาหาร
  8. ค่ากระดาษ A4
  9. ค่าชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร Si-2
  10. ค่าชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย Si-2
  11. ค่าตัวอย่างเพื่อทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร
  12. ค่าชุดทดสอบสารบอแรกซ์ในอาหาร
  13. ค่าชุดทดสอบกรดซาริซิลิค (สารกันรา)
  14. ค่าชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ (สารฟอกขาว)
  15. ค่าชุดทดสอบฟอร์มาลินในอาหาร
  16. ค่าวัสดุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
  17. ค่ากระดาษถ่ายเอกสาร A4
  18. ค่าคลิปบอร์ดพลาสติก A4
  19. ค่าอาหารและเครื่องดื่ม
  20. ค่าชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร Si-2
  21. ค่าชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย Si-2 (เฉพาะอุปกรณ์)
  22. ค่าชุดทดสอบสารบอแรกซ์ในอาหาร
  23. ค่าชุดทดสอบกรดซาริซิลิค (สารกันรา)
  24. ค่าชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ (สารฟอกขาว)
  25. ค่าชุดทดสอบฟอร์มาลินในอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ประกอบการด้านอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากโรคอาหารและน้ำเป็นสื่อ เช่น โรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษ รวมถึงอาหารที่จำหน่ายมีความปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในอาหาร เพื่ออาหารปลอดภัย นักท่องเที่ยวสุขใจ และปลอดภัยต่อผู้บริโภค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อป้องกันการป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษ ในแหล่งท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้ช่วยจำหน่ายในเขตเทศบาลนครสงขลา ผ่านกาตรวจประเมินทางด้านกายภาพ ชีวภาพ และการปนเปื้อนจากสารเคมี
90.00

 

2 2.ส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ของผู้ประกิบด้านอาหารและผู้ช่วยจำหน่ายอาหารรวมถึงนักท่องเที่ยงและประชาชนทั่วไปที่ใช้บริการสถานประกอบการจำหน่ายอาหารให้มีความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ประกอบการด้านอาหารผ่านการทดสอบหลังการอบรม ร้อยละ 90
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันการป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษ ในแหล่งท่องเที่ยว (2) 2.ส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ของผู้ประกิบด้านอาหารและผู้ช่วยจำหน่ายอาหารรวมถึงนักท่องเที่ยงและประชาชนทั่วไปที่ใช้บริการสถานประกอบการจำหน่ายอาหารให้มีความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการด้านอาหาร และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบติงาน (2) กิจกรรมตรวจแนะนำผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 500 ราย ตามแบบตรวจแนะนำกรมอนามัย กระทรางสาธารณสุข (3) กิจกรรมจัดเก็ยตัวอย่างอาหารเพื่อหาสารปนเปื้อนในอาหาร รวมถึงสารปนเปื้อนที่เป็นเหตุให้เกิดโรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษ (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (5) ค่าอาหารกลางวัน (6) ค่าตอบแทนวิทยากร (7) ค่าจัดทำคู่มือหลักการสุขาภิบาลอาหาร (8) ค่ากระดาษ A4 (9) ค่าชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร Si-2 (10) ค่าชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย Si-2 (11) ค่าตัวอย่างเพื่อทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (12) ค่าชุดทดสอบสารบอแรกซ์ในอาหาร (13) ค่าชุดทดสอบกรดซาริซิลิค (สารกันรา) (14) ค่าชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ (สารฟอกขาว) (15) ค่าชุดทดสอบฟอร์มาลินในอาหาร (16) ค่าวัสดุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (17) ค่ากระดาษถ่ายเอกสาร A4 (18) ค่าคลิปบอร์ดพลาสติก A4 (19) ค่าอาหารและเครื่องดื่ม (20) ค่าชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร Si-2 (21) ค่าชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย Si-2 (เฉพาะอุปกรณ์) (22) ค่าชุดทดสอบสารบอแรกซ์ในอาหาร (23) ค่าชุดทดสอบกรดซาริซิลิค (สารกันรา) (24) ค่าชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ (สารฟอกขาว) (25) ค่าชุดทดสอบฟอร์มาลินในอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอาหารปลอดภัย ห่างไกลโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุทิน หลำหม๊ะ นักวิชาการสุขาภิบาลชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด