กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการ Boyang health care ดูแลคน 1,000 เตียง ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเอมอร ไชยมงคล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการ Boyang health care ดูแลคน 1,000 เตียง

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Boyang health care ดูแลคน 1,000 เตียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Boyang health care ดูแลคน 1,000 เตียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ Boyang health care ดูแลคน 1,000 เตียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 622,820.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ ผู้บริหารเทศบาลนครสงขลา ได้มีนโยบายคุณภาพชีวิตดี (QUALITY) : เมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน เอื้อต่อการดำรงชีวิต และมอบหมายให้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจัดทำโครงการโรงพยาบาล 1,000 เตียง ผูกพันใจ ห่วงใยชาวบ่อยาง ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น ซึ่งนับเป็นปีแรกของการดำเนินโครงการตามนโยบายของผู้บริหารเทศบาลนครสงขลา โดยได้รับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา และดำเนินการร่วมกับโรงพยาบาลสงขลา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ในโครงการ ธนาคาร 1,000 เตียง กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา ในโครงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชน และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และคณะกรรมการชุมชนทั้ง 55 ชุมชน เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน รับบริการทางการแพทย์ในเชิงรุกและเชิงรับโดยทีมสหวิชาชีพ ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยและญาติสามารถลดภาระค่าใช้จ่าย และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ได้รับการให้บริการยืม-คืนครุภัณฑ์ทางการแพทย์ และได้รับบริการรถรับ-ส่งผู้ป่วยระหว่างบ้านถึงสถานพยาบาล จากการดำเนินโครงการโรงพยาบาล 1,000 เตียง ผูกพันใจ ห่วงใยชาวบ่อยาง ปีงบประมาณ 2566 กลุ่มเป้าหมายในโครงการจำนวน 500 คน คนที่ได้รับการเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการมีจำนวน 421 คน คิดเป็นร้อยละ 84.20 สามารถดำเนินโครงการบรรลุตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ และปัจจุบันมีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 1,260 คน ซึ่งมากกว่าจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ จากการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2566 พบปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการฯ ดังนี้ เจ้าหน้าที่ในการลงติดตามเยี่ยมไม่เพียงพอ เครือข่ายในการลงติดตามเยี่ยมสมาชิกโครงการฯ ขาดองค์ความรู้ การประชาสัมพันธ์โครงการไม่ทั่วถึงทุกชุมชน ทำให้ผู้ป่วยบางชุมชนไม่ทราบถึงข้อมูลข่าวสารของโครงการ และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านในปีงบประมาณ 2566 พบสภาพปัญหาผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ยังขาดการดูแลที่เหมาะสมจากผู้ดูแลและครอบครัว ไม่มีเตียงนอนที่เหมาะสม ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน ส่งผลให้ผู้ป่วยต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เกิดผลเสียแก่สุขภาพผู้ป่วย เกิดความแออัดของโรงพยาบาล และผู้ดูแลมีความเครียดจากค่าใช้จ่ายในการดูแล
ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา จึงเห็นความจำเป็นในการจัดทำโครงการ Boyang health care ดูแลคน 1,000 เตียง ปีงบประมาณ 2567 เพื่อให้สมาชิกในโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและรับบริการทางการแพทย์ในเชิงรุกและเชิงรับ สมาชิกในโครงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สมาชิก ญาติ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และเพื่อพัฒนาศักยภาพแก่เครือข่ายอาสาสมัครดูแลสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ในการดำเนินการโครงการฯ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกโครงการให้ครบ 1,000 คน
  2. 2. เพื่อให้สมาชิกโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน และรับบริการทางการแพทย์ในเชิงรุก และมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ
  3. 3. เพื่อให้สมาชิกโครงการได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ได้รับการให้บริการยืม-คืนครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้รับบริการรถรับ-ส่งผู้ป่วยระหว่างบ้านถึงสถานพยาบาล และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  4. 4. เพื่อให้สมาชิกโครงการ ญาติ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
  5. 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่เครือข่ายอาสาสมัครดูแลสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ในการดำเนินการโครงการฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมปรึกษาหารือกับคณะทำงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ญาติ ผู้ป่วยและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
  3. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาสาสมัครดูแลสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
  4. กิจกรรมติดตามเยี่ยมและประเมินอาการผู้ป่วยที่บ้านพร้อมให้คำปรึกษา
  5. กิจกรรมพบแพทย์ทางไกล (Telemedicine) การพยาบาลทางไกล (Tele-nursing) และการฟื้นฟูสมรรถภาพทางไกล (Telerehabilitation)
  6. กิจกรรมให้บริการยืม-คืน อุปกรณ์ทางการแพทย์ และให้บริการรถรับ-ส่ง ผู้ป่วย ระหว่างบ้านถึงสถานพยาบาล และรถกู้ชีพ
  7. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ
  8. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  9. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  10. ค่าไวนิล
  11. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  12. ค่าอาหารกลางวัน
  13. ค่าตอบแทนวิทยากร
  14. ค่าตอบแทนวิทยากร กลุ่ม
  15. ค่าไวนิล
  16. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  17. ค่าอาหารกลางวัน
  18. ค่าตอบแทนวิทยากร
  19. ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม
  20. ค่าเอกสารประกอบการอบรม
  21. ค่าวัสดุ
  22. สื่อการสอน
  23. ชุดสาธิตกระเป๋าเยี่ยมบ้าน 7 ชุด ชุดละ 6,760 บาท
  24. ค่าวัสดุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการทำกิจกรรม
  25. ค่าสติ๊กเกอร์ประจำตัวสมาชิกโครงการ
  26. ค่าจัดทำเวชระเบียนผู้ป่วย
  27. ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต
  28. ค่าเครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด
  29. ค่าวัสดุสตริปพร้อมเข็มตรวจน้ำตาลในเลือด
  30. ค่าวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์
  31. ค่าแท็บเล็ต Wi-fi + Cellular
  32. เตียงนอนปรับระดับได้
  33. รถเข็นนั่ง
  34. เครื่องช่วยเดิน 4 ขา
  35. เก้าอี้นั่งถ่าย 4 ขา
  36. ค่าสติ๊กเกอร์ติดรถประชาสัมพันธ์โครงการ
  37. ค่าสติ๊กเกอร์ติดรถประชาสัมพันธ์โครงการ
  38. ค่าสติ๊กเกอร์ซีทรู
  39. ค่าป้ายอะคริลิค
  40. ค่าวัสดุอุปกรณ์ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
  41. ค่าจัดทำและเข้าเล่มสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 700
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 300
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีจำนวนสมาชิกโครงการให้ครบ 1,000 คน
  2. สมาชิกโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน และรับบริการทางการแพทย์ในเชิงรุก มีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ
  3. สมาชิกโครงการได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ได้รับการให้บริการยืม-คืนครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้รับบริการรถรับ-ส่งผู้ป่วยระหว่างบ้านถึงสถานพยาบาล และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  4. สมาชิกโครงการ ญาติ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
  5. สามารถพัฒนาศักยภาพแก่เครือข่ายอาสาสมัครดูแลสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ในการดำเนินการโครงการฯ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกโครงการให้ครบ 1,000 คน
ตัวชี้วัด : 1. สมาชิกโครงการครบตามเป้าหมาย ร้อยละ 100
100.00

 

2 2. เพื่อให้สมาชิกโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน และรับบริการทางการแพทย์ในเชิงรุก และมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ
ตัวชี้วัด : 2. สมาชิกโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน และรับบริการทางการแพทย์ในเชิงรุก และมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
90.00

 

3 3. เพื่อให้สมาชิกโครงการได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ได้รับการให้บริการยืม-คืนครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้รับบริการรถรับ-ส่งผู้ป่วยระหว่างบ้านถึงสถานพยาบาล และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 3. สมาชิกโครงการได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ได้รับการให้บริการยืม-คืนครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้รับบริการรถรับ-ส่งผู้ป่วยระหว่างบ้านถึงสถานพยาบาล และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 90
90.00

 

4 4. เพื่อให้สมาชิกโครงการ ญาติ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 4. สมาชิกโครงการ ญาติ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
90.00

 

5 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่เครือข่ายอาสาสมัครดูแลสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ในการดำเนินการโครงการฯ
ตัวชี้วัด : 5. เครือข่ายอาสาสมัครดูแลสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ได้รับการพัฒนาศักยภาพ และมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1060
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 700
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 300
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มจำนวนสมาชิกโครงการให้ครบ 1,000 คน (2) 2. เพื่อให้สมาชิกโครงการได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน และรับบริการทางการแพทย์ในเชิงรุก และมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ (3) 3. เพื่อให้สมาชิกโครงการได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ได้รับการให้บริการยืม-คืนครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้รับบริการรถรับ-ส่งผู้ป่วยระหว่างบ้านถึงสถานพยาบาล และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (4) 4. เพื่อให้สมาชิกโครงการ ญาติ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ (5) 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่เครือข่ายอาสาสมัครดูแลสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ในการดำเนินการโครงการฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมปรึกษาหารือกับคณะทำงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ญาติ ผู้ป่วยและบุคคลที่เกี่ยวข้อง (3) กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาสาสมัครดูแลสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา (4) กิจกรรมติดตามเยี่ยมและประเมินอาการผู้ป่วยที่บ้านพร้อมให้คำปรึกษา (5) กิจกรรมพบแพทย์ทางไกล (Telemedicine) การพยาบาลทางไกล (Tele-nursing) และการฟื้นฟูสมรรถภาพทางไกล (Telerehabilitation) (6) กิจกรรมให้บริการยืม-คืน อุปกรณ์ทางการแพทย์ และให้บริการรถรับ-ส่ง ผู้ป่วย ระหว่างบ้านถึงสถานพยาบาล และรถกู้ชีพ (7) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ (8) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (10) ค่าไวนิล (11) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (12) ค่าอาหารกลางวัน (13) ค่าตอบแทนวิทยากร (14) ค่าตอบแทนวิทยากร กลุ่ม (15) ค่าไวนิล (16) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (17) ค่าอาหารกลางวัน (18) ค่าตอบแทนวิทยากร (19) ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม (20) ค่าเอกสารประกอบการอบรม (21) ค่าวัสดุ (22) สื่อการสอน (23) ชุดสาธิตกระเป๋าเยี่ยมบ้าน 7 ชุด ชุดละ 6,760 บาท (24) ค่าวัสดุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการทำกิจกรรม (25) ค่าสติ๊กเกอร์ประจำตัวสมาชิกโครงการ (26) ค่าจัดทำเวชระเบียนผู้ป่วย (27) ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต (28) ค่าเครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด (29) ค่าวัสดุสตริปพร้อมเข็มตรวจน้ำตาลในเลือด (30) ค่าวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ (31) ค่าแท็บเล็ต Wi-fi + Cellular (32) เตียงนอนปรับระดับได้ (33) รถเข็นนั่ง (34) เครื่องช่วยเดิน 4 ขา (35) เก้าอี้นั่งถ่าย 4 ขา (36) ค่าสติ๊กเกอร์ติดรถประชาสัมพันธ์โครงการ (37) ค่าสติ๊กเกอร์ติดรถประชาสัมพันธ์โครงการ (38) ค่าสติ๊กเกอร์ซีทรู (39) ค่าป้ายอะคริลิค (40) ค่าวัสดุอุปกรณ์ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (41) ค่าจัดทำและเข้าเล่มสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ Boyang health care ดูแลคน 1,000 เตียง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเอมอร ไชยมงคล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด