กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาปลอดภัยถึง 45 วันหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาปลอดภัยถึง 45 วันหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ”

ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางอามีหน๊ะ มะดีเยาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาปลอดภัยถึง 45 วันหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67L70080117 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาปลอดภัยถึง 45 วันหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาปลอดภัยถึง 45 วันหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาปลอดภัยถึง 45 วันหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67L70080117 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์ เพื่อการดูแลสุขภาพมารดาขณะตั้งครรภ์เป็นสิ่งสำคัญที่จะให้การคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัยมีสุขภาพที่ดี จากภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด ครรภ์คุณภาพเป็นเป้าหมายหลักของการให้บริการฝากครรภ์ทุกหน่วยบริการสาธารณสุข เพื่อให้สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก ช่วยในการค้นหาหญิง ตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพ เกิดความ ปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์ จากการรายงานผลการดำเนินของกรมอนามัยที่คอยเฝ้าระวังและกำกับติดตามผลการดำเนินงานผ่านระบบเฝ้าระวังการตายมารดา (MDSR System) พบว่าอัตราส่วนการตายมารดามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจากการคาดการณ์ผลการดำเนินงานในรอบ 6 เดือนอาจเป็นไปได้ว่าเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ 2565 ผลการดำเนินงานลดการตายมารดาอาจยังไม่บรรลุตามค่าเป้าหมายของประเทศที่กำหนดให้อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 17 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย โดยผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือนแรก (ต.ค.64-มี.ค.65) ในปีงบประมาณ 2565 อัตราส่วนการตายมารดาไทยเท่ากับ 31.2 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย ผลการกำกับติดตามการดำเนินงานเพื่อลดการตายมารดาประจำเดือนเดือนมีนาคม 2565 มีมารดาไทย เสียชีวิตจำนวน 79 คน แบ่งเป็นมารดาจากเขตสุขภาพที่ 1-12 มีมารดาตายจำนวน 77 คน และจาก กทม. จำนวน 2 คน มารดาต่างด้าวเสียชีวิตจำนวน 5 คน และมารดาเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางท้องถนนจำนวน 1 คน นอกจากนี้ยังพบว่ามารดาไทยทั้ง 79 ราย มีสาเหตุการตายมาจากตกเลือด 12 คน ติดเชื้อโควิด 19 เสียชีวิต 18 คน และตายจากสาเหตุอื่นทั้งทางสูติกรรมและโรคอื่นๆอีก 49 คน นอกจากนี้เมื่อลองคำนวนการ ตายมารดาที่มิใช่การตายมารดาจากการติดเชื้อโควิด 19 พบว่าอัตราส่วนการตายมารดาที่ไม่เกี่ยวข้องกับการ ติดเชื้อโควิด 19 เดือน ต.ค.64 - มี.ค.65 เขต 1-13 เท่ากับ 24.1 สาเหตุการตายนี้ยังสัมพันธ์กับช่วงเวลาการเสียชีวิตของมารดากล่าวคือร้อยละ 50 ของการเสียชีวิตเกิดที่ระยะหลังคลอด นอกจากนี้ยังพบว่าการตายจากการตกเลือดหลังคลอดเกิดจากจากมดลูกไม่หดรัดตัว ภาวะรกเกาะติด อันมีสาเหตุมาจากการผ่าตัดคลอดซ้ำจากที่เคยผ่าตัดคลอดในการตั้งครรภ์ก่อน ซึ่งปัจจุบันอัตราการการผ่าท้องคลอดมีแนวโน้มพบได้มากขึ้น ซึ่งสัมพันธ์กับการตายมารดาในส่วนของวิธีการคลอดโดยพบว่าร้อย 43 ของการตายมารดาเกิดจากการผ่าตัดคลอด ซึ่งสาเหตุเหล่านี้สามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ“ส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาปลอดภัยถึง 45 วันหลังคลอด” เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนขณะคลอด จนถึง 45 วันหลังคลอดอย่างปลอดภัย โดยรับการตรวจครรภ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ ฝากครรภ์อย่างน้อย 5 ครั้ง และได้รับการคลอดในสถานบริการ(โรงพยาบาล)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ
  2. เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีสุขภาพที่ดี
  3. เพื่อให้มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จนถึง 6 เดือนอย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรม อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ “การตั้งครรภ์ปลอดภัย ไม่มีภาวะเสี่ยง แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส
  2. 2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเตรียมตัวใกล้คลอด กระตุ้นให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ก่อนคลอดและคู่สมรส
  3. 3. กิจกรรมเยี่ยมติดตามหลังคลอด และแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 114
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการเพิ่มขึ้น
    1. มารดาหลังคลอดได้รับการเยี่ยมติดตาม
  2. มารดาหลังคลอดให้นมแม่ได้นานถึง 6 เดือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดได้รับการเยี่ยมติดตาม
0.00

 

3 เพื่อให้มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จนถึง 6 เดือนอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดให้นมแม่ได้นานถึง 6 เดือน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 114
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 114
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ (2) เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีสุขภาพที่ดี (3) เพื่อให้มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จนถึง 6 เดือนอย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรม อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ “การตั้งครรภ์ปลอดภัย ไม่มีภาวะเสี่ยง แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส (2) 2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเตรียมตัวใกล้คลอด กระตุ้นให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ก่อนคลอดและคู่สมรส (3) 3. กิจกรรมเยี่ยมติดตามหลังคลอด และแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาปลอดภัยถึง 45 วันหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67L70080117

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอามีหน๊ะ มะดีเยาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด