กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการTO BE NUMER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ตำบลนิคมพัฒนา ”

ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิมลมาศ มินขาว

ชื่อโครงการ โครงการTO BE NUMER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ตำบลนิคมพัฒนา

ที่อยู่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 18/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการTO BE NUMER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ตำบลนิคมพัฒนา จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการTO BE NUMER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ตำบลนิคมพัฒนา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการTO BE NUMER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ตำบลนิคมพัฒนา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ ซึ่งส่งผลกระทบเป็นวงกว้างแก่สังคม เนื่องจากเป็นภัยต่อความมั่นคงและกระทบต่อความสงบสุขของประชากรในประเทศไทย ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทยอย่างยิ่งโดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน ระหว่าง๖-๑๔ ปี จำนวน๒๑ ล้านคน ซึ่งถือเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง จึงทรงรับเป็นองค์ประธานโครงกรรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยความร่วมมือและรวมพลังจากภาครัฐ และเอกชนกระตุ้น ปลูกจิตสำนึกของปวงชนในชาติให้มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักว่าการที่จะเอาชนะ ปัญหายาเสพติดมิใช่หน้าที่ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือ องค์กรใดองค์หนึ่ง แต่ทุกคนในชาติต้องร่วมแรงร่วมใจกันเป็นพลังของแผ่นดินที่จะต่อสู้เอาชนะปัญหายาเสพติด ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการรณรงค์ ในกลุ่มเยาวชนเป็นเป้าหมายหลัก โดยวิธีการสร้างกระแสการไม่ข้องแวะยาเสพติด ด้วยการ จัดตั้งชมรม "TO BE NUMBER ONE" ในสถานศึกษา และ นอกสถานศึกษาของทุกจังหวัดเพื่อให้เกิดค่านิยมของการเป็นหนึ่งได้โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด และจัดระบบการบำบัดรักษารองรับภายใต้โครงการ ใครติดยายกมือขึ้น " ทั้งนี้เพื่อบรรลุเป้าหมายที่จะคืนคนดีสู่สังคม ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนังเป็นตำบลหนึ่งที่ประสบปัญหายาเสพติด จากการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเสียงในชุมชนเข้ารับการบำบัดเบื้องต้น ณ ค่ายโครงการเพื่อนช่วยเพื่อนและเข้าบำบัด รพมะนัง จำนวนดนราย พบว่าอายุของกลุ่มผู้เข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ ตำสุด ดอ ปีและสูงสุดเปี ซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชนไมหมู่บ้าน บางรายไม่มีงานทำอาศัยการรับจ้างทั่วไป บางรายพ่อแม่แยกทางกัน มีปัญหาครองครัว ขาดที่ปรึกษา ทำให้หั่นไป มั่วสุมกับยาเสพติด ศูนย์อำนวยการป้องกันยาเสพติดอำเภอมะนังและภาคีเครือข่ายจึงได้กำหนดนโยบายเร่งรัดแก้ไข ปัญหายาเสพติดโดยเน้นกลุ่มเสี่ยงไม่ให้มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เยาวชนมีกิจกรรมที่สร้างสรรค์และใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอมะนัง ในฐานะเลขานุการโครงการ TO BE NUMBER ONE จึงได้จัดทำโครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อเป็นแกนกลางในการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนในการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด บรรลุผลสำเร็จได้ด้วยดีและสร้างเครือข่าย TO BE NUMBER ONE ที่มีศักยภาพเพื่อจะทำให้การดำเนินป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชนครอบครัว ชุมชน ในการต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด 2 ชุมชนและสถานศึกษา มีการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE อย่างเป็นรูปธรรม 3 เพื่อให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม To be Number one

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เยาวชนได้ตระหนักรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติดให้โทษ สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ๒. มีชมรม TO BE NUMBER ONE เพิ่มขึ้นในสถานศึกษาและชุมชนและมีการดำเนินกิจกรรมตามหลัก 3ก 3ย อย่างเป็นรูปธรรม ๓.เยาวชนเห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชนครอบครัว ชุมชน ในการต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด 2 ชุมชนและสถานศึกษา มีการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE อย่างเป็นรูปธรรม 3 เพื่อให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม To be Number one
    ตัวชี้วัด : 1 เยาวชนผ่านการอบรมเสริมสร้างทักษะเชิงบวกในการป้องกันสารเสพติดและมีแกนนำเยาวชน ในการต่อต้านและป้องกันยาเสพติดในโรงเรียนและในชุมชน 2 ชุมชนและสถานศึกษา มีการดำเนินกิจกรรมตามหลัก 3ก 3 ย 3 กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด เป็น สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONEและร่วม กิจกรรม TO BE NUMBER ONE ระดับอำเภอ
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชนครอบครัว ชุมชน ในการต่อต้านป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด 2 ชุมชนและสถานศึกษา มีการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE  อย่างเป็นรูปธรรม 3 เพื่อให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม To be Number one

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการTO BE NUMER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ตำบลนิคมพัฒนา จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาววิมลมาศ มินขาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด