กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการ ม.4 หวานใจเดิมเพิ่มเติมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการ ม.4 หวานใจเดิมเพิ่มเติมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ม.4 หวานใจเดิมเพิ่มเติมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ม.4 หวานใจเดิมเพิ่มเติมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ม.4 หวานใจเดิมเพิ่มเติมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังตลอดชีวิต หากไม่ได้รับการรักษาหรือได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้อง จะเป็นอันตรายต่อชีวิตผู้ป่วย จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า คนไทยที่มีความดันโลหิตสูงจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ประมาณ ๓.๗ เท่าของผู้ที่มีความดันโลหิตปกติและยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดส่วนปลาย และภาวะหัวใจล้มเหลว ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการรักษาเกือบครึ่งหนึ่งจะตายด้วยโรคหัวใจ ส่วนโรคเบาหวานจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะตาบอดไตวายและถูกตัดอวัยวะ เป็นต้น ปัญหาของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่พบบ่อยที่สุด คือการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ยังพบการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มมันและหวาน สาเหตุคือ ความเคยชิน มีความจำเป็นต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ไม่มีเวลาในการประกอบอาหารเอง จึงหาซื้ออาหารสำเร็จรูปมารับประทาน รวมถึงการขายการออกกำลังและไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกหลักได้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ จากการดำเนินการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของหมู่ที่ ๔ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง ในปี 2566 พบว่า ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ได้รับการคัดกรอง ๗๕ คน  ผลการคัดกรองรอบที่ ๑ พบว่า พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน ๓๒ คน และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๒๙ คน หลังจากนั้น นำกลุ่มเสี่ยงฯ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3อ๒ส) และตรวจติดตามในรอบ  ๓ เดือน ผลการคัดกรองรอบที่ ๒ พบว่า พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน ๑๑ คน และ และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๒๒ คน ซึ่งการดำเนินการดังกล่าว ทำให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง และในปี ๒๕๖๗ ชมรม อสม.หมู่ที่ ๔ ตำบลนิคมพัฒนา ได้ลงพื้นที่และติดตามกลุ่มเสี่ยงฯ ในเดือน มกราคม ๒๕๖๗ พบว่า กลุ่มเสี่ยงที่ผ่านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เมื่อปี ๒๕๖๖ มีการออกกำลังกายน้อยลง และมีการคัดกรองซ้ำ พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้น ดังนั้นเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง สัมฤทธิ์ผลในมีแนวโน้มไปในทางที่ดีขึ้น ต่อยอดการดำเนินงานชมรมหวานใจ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๔ ตำนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จึงได้จัดทำโครงการ ม.4 หวานใจเดิมเพิ่มเติมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินควบคู่การออกกำลังกาย และตระหนักถึงการออกกำลังกาย และมีกิจกรรมออกกำลังอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินควบคู่การออกกำลังกาย 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงตระหนักถึงการออกกำลังกาย และมีกิจกรรมออกกำลังอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
    2. กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
    3. คนในชุมชนมีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ผู้ป่วยรายใหม่และกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินควบคู่การออกกำลังกาย 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงตระหนักถึงการออกกำลังกาย และมีกิจกรรมออกกำลังอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินควบคู่การออกกำลังกาย 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงตระหนักถึงการออกกำลังกาย และมีกิจกรรมออกกำลังอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ ม.4 หวานใจเดิมเพิ่มเติมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด