กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง


“ สร้างสุขภาพเปี่ยมสุข ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ”

ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนะ เซ็งดี

ชื่อโครงการ สร้างสุขภาพเปี่ยมสุข ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง ......../2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างสุขภาพเปี่ยมสุข ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างสุขภาพเปี่ยมสุข ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างสุขภาพเปี่ยมสุข ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มจัด รวมถึงความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้าย ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง ทำให้อายุไขของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า 60 ปี โดยจากสถิติพบว่า คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ 3 แสนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ 73 ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลกสาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 63 ของสาเหตุการตายของประชากรโลก ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของ โรคเบาหวานความดันโลหิตสูงเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอรามัน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี รวมถึงผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จากการจัดลำดับความชุก 10 อันดับโรคของผู้รับบริการพบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จัดอยู่ในอันดับที่ 1 และ พบจำนวนสูงสุดในกลุ่มผู้ป่วยอายุ 60 ปี ขึ้นไป รองลงมาพบในกลุ่มอายุ 40-60 ปี และพบจำนวนน้อยในช่วงอายุ น้อยกว่า40 ปี ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พบโรคแทรกซ้อน และยังพบว่ามีผู้ป่วย เบาหวานความดันโลหิตสูงที่ต้องเข้านอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง และ ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ อีกเป็นจำนวนมาก ถึงแม้ว่าโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่วนใหญ่ไม่ทำให้สูญเสียชีวิตทันที แต่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านสังคม และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน ทำให้เกิดข้อจำกัดด้านความสามารถหรือมีความพิการหรือเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ดังนั้นการ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ระดับความดันโลหิตมีความสำคัญในการควบคุมความรุนแรงของโรค และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยกิจกรรม 3อ3ส. จึงเป็นวิธีการที่สำคัญในการช่วยให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองและควบคุมโรคได้

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบือมัง มีประชาชนกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 508 ราย ที่เข้ารับการบริการรักษาต่อเนื่องจำนวน 283 ราย คิดเป็นร้อยละ 55.71 สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีจำนวน 224 ราย คิดเป็นร้อยละ 44.09กลุ่มป่วยโรคเบาหวานทั้งหมดจำนวน 224 ราย ได้รับการตรวจภาวะน้ำตาลในเลือด จำนวน 168 ราย คิดเป็นร้อยละ 75 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำจวน 67 ราย คิดเป็นร้อยละ 29.91 และยังมีกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หรือและเบาหวานจำนวน 377 ราย ที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต จำนวน 194 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.46 ซึ่งยังไม่ได้ผลตามเป้าหมายร้อยละ 80 (ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 19 มีนาคม 2567) หากไม่ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ในอนาคต การรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกซ้อนได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบือมัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยได้จัดโครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุข ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิสูงและเบาหวาน โดยเน้นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกกรมประชุมวางแผนและแต่งตั้งคณะทำงาน
  2. กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  3. ติดตามตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนของโรคในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  4. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงานและคัดเลือกบุคคลต้นแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงานโดยคัดเลือกจาก อสม.และเจ้าหน้าที่ รพ.สต 70

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีคณะทำงานและแผนในการจัดเตรียมโครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุข ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับความรู้เรื่องโรค การป้องกันและการดูแลตนเองเพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 3.ผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในเรื่อง ๓ อ. ๒ ส.1ฟ 1 น 4.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต และเท้า 5.ตำบลบือมังมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่สามารถควบคุมโรคได้ดี หมู่ละ 1 คน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 80 2.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้เรื่องโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถความคุมระดับน้ำตาลได้ (ค่า DTX แบบงดอาหารน้อยกว่า 126 mg% และแบบไม่งดน้อยกว่า200mg%) ร้อยละ 40 2.กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ( ค่า BP น้อยกว่า 140/90) ร้อยละ 50
40.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคหลังจากได้รับการเจาะเลือด ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ90
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 270
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงานโดยคัดเลือกจาก อสม.และเจ้าหน้าที่ รพ.สต 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกกรมประชุมวางแผนและแต่งตั้งคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (3) ติดตามตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนของโรคในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (4) ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงานและคัดเลือกบุคคลต้นแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างสุขภาพเปี่ยมสุข ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวไซนะ เซ็งดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด