กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว


“ โครงการยกระดับการออกกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) ”

ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
1. นางประจวบ ชัยเกษตรสิน 2. นางเยาว์เรศ หมื่นละม้าย

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับการออกกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8018-02-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับการออกกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับการออกกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับการออกกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L8018-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) เป็นการผสมผสานการเต้นแอโรบิก ที่นิยมนำมาเป็นกิจกรรมการออกกำลังกาย เนื่องจากสามารถช่วยลดปัญหาการเต้นแอโรบิกที่เป็นการเต้นด้วยจังหวะเร็วและเปลี่ยนท่าบ่อย ๆ ทำให้ผู้เต้นบางคนไม่ถนัด และลดการเกิดปัญหาไม่มีคู่เต้น ที่ต้องอาศัยการเต้นเป็นคู่แบบการเต้นลีลาศ ไลน์ แดนซ์ ถือเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายที่สามารถทำคนเดียวที่บ้านเองได้ หรือหากมีการรวมกลุ่มกันก็จะเกิดเป็นสังคมใหม่ การเต้นไลน์ แดนซ์ เป็นวิธีการออกกำลังกายที่ช่วยบริหารร่างกายและบริหารสมอง ช่วยเพิ่มความสุขทางใจไปพร้อม ๆ กัน แม้ไม่มีพื้นฐาน  ในการเต้น ก็สามารถเต้นได้จากการดูวิดีโอ หรือทำตามผู้นำ ทำให้ห่างไกลจากโรคอัลไซเมอร์ เพิ่มความคล่องตัว    ทำให้ร่างกายรู้สึกกระชุ่มกระชวย เกิดความกระฉับกระเฉง         ดังนั้น ชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งยาว มีจำนวนสมาชิกทั้งหมด 22 คน จึงได้จัดทำ “โครงการยกระดับการออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance)” ขึ้น เพื่อให้มีการรวมกลุ่มกันฝึกปฎิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ บริหารร่างกายและบริหารสมอง ช่วยให้เพิ่มความสุขทางกายและใจเกิดเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกปฎิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) ที่ถูกวิธี
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance)อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินสุขภาพเบื้องต้นแก่กลุ่ม เป้าหมาย (ภาวะน้ำหนักเกิน/อ้วน) ก่อนอบรม
  2. จัดทำโครงการ/เสนอขออนุมัติ
  3. รับสมัครกลุ่มเป้าหมายจากสมาชิกชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพและผู้สนใจ
  4. ประสานวิทยากร/เตรียมหลักสูตร
  5. กิจกรรม จัดอบรมความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน 1 วัน 6 ชั่วโมง
  6. กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฎิบัติการ ความรู้และฝึกปฎิบัติการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) จำนวน 2 วันๆละ 5 ชม.
  7. กิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) สัปดาห์ละ 5 วัน (วันจันทร์ – วันศุกร์) วันละ 2 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 17.00 - 19.00 น. โดยมีผู้นำเต้นจากแกนนำของชมรมจำนวน 3 คน
  8. ประเมินสุขภาพเบื้องต้นแก่กลุ่มเป้าหมาย (ภาวะน้ำหนักเกิน/อ้วน) เปรียบเทียบผลก่อนและหลัง การออกกำลังกาย
  9. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) สม่ำเสมอ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วันๆละ 2 ชม.


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกปฎิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) ที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถปฎิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) ได้ถูกต้อง

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance)อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) สม่ำเสมอ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วันๆละ 2 ชม.

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกปฎิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line  Dance) ที่ถูกวิธี (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line  Dance)อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินสุขภาพเบื้องต้นแก่กลุ่ม เป้าหมาย (ภาวะน้ำหนักเกิน/อ้วน) ก่อนอบรม (2) จัดทำโครงการ/เสนอขออนุมัติ (3) รับสมัครกลุ่มเป้าหมายจากสมาชิกชมรมบาสโลบเพื่อสุขภาพและผู้สนใจ (4) ประสานวิทยากร/เตรียมหลักสูตร (5) กิจกรรม จัดอบรมความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน 1 วัน 6 ชั่วโมง (6) กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฎิบัติการ  ความรู้และฝึกปฎิบัติการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line  Dance)                จำนวน 2 วันๆละ 5 ชม. (7) กิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line  Dance) สัปดาห์ละ 5 วัน (วันจันทร์ – วันศุกร์) วันละ 2 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา  17.00 - 19.00  น. โดยมีผู้นำเต้นจากแกนนำของชมรมจำนวน 3 คน (8) ประเมินสุขภาพเบื้องต้นแก่กลุ่มเป้าหมาย (ภาวะน้ำหนักเกิน/อ้วน)  เปรียบเทียบผลก่อนและหลัง          การออกกำลังกาย (9) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยกระดับการออกกกำลังกายด้วยการเต้นไลน์ แดนซ์ (Line Dance) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8018-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1. นางประจวบ ชัยเกษตรสิน 2. นางเยาว์เรศ หมื่นละม้าย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด