กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2567 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นส.โสภิตรา นารีเปน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-1-10 เลขที่ข้อตกลง 36/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5307-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยในระยะยาวเพื่อก้าวไปสู่ความมั่งคง มั่งคั่ง ยั่งยืนนั้น ต้องอาศัยทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ ซึ่งหมายรวมถึงการมีร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีความพร้อมทางด้านจิตใจ และสติปัญญา ซึ่่ง 2,500 วันแรกของชีวิต เป็นช่วงที่โครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุดทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงระหว่างเซลล์สมองเกิดเป็นโครงข่ายเส้นใย ประสาทนับล้านโครงข่ายเป็นผลให้เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารระหว่างเซลล์สมอง ทำให้เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้จดจำ นอกจากนี้การเจริญเติบโตด้านร่างกายเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน อีกทั้งยังเป็นช่วงของการสร้างอวัยวะต่างๆ ส่งผลต่อระบบภูมิต้านทานโรคระบบเผาพลาญ ระบบทางเดินอาหารของร่างกายให้สมบูรณ์
2,500 วันแรกของชีวิตคือ ช่วงเวลาตั้งแต่การปฏิสนธิ และตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด (270 วัน) เด็กอายุ 0-6 เดือน (180 วัน) เด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี (550 วัน) และเด็กอายุ 2-5 ปี (1,500 วัน) กระบวนการพัฒนาการทางร่างกาย ทางสมอง อารมณ์และสังคม ส่งผลต่อทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ภาวะเตี้ย ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการไม่สมวัย เนื่องจากเป็นช่วงที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง โดยการเพิ่มเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับโภชนาการที่เหมาะสมร่วมกับกระบวนการ กิน นอน กอด เล่น เล่า จะทำให้ทารกเจริญเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงในที่สุด ผลการดำเนินงานคุณภาพด้านแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน จาก HDC ในปี พ.ศ. 2566 พบประเด็นเกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ได้แก่ 1) การฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ได้ร้อยละ 72.30 (เกณฑ์ร้อยละ 75) 2) การฝากครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ได้ร้อยละ 61.53 (เกณฑ์ร้อยละ 75) 3) หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ได้ร้อยละ 28.57 (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 15)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน จัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2567 และดำเนินการพัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็กในคลินิกบริการและเครือข่ายให้มีมาตรฐานและต่อเนื่อง เพื่อการดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด - 5 ปี ให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ มีสติปัญญาและศักยภาพที่ดีต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์คุณภาพ ฝากก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การเตรียมตัวคลอดและหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด/เสี่ยงซีดได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์การฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์คุณภาพ ฝากก่อน 12 สัปดาห์
  2. อบรม/ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสามี/ญาติ ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
  3. การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
  4. พัฒนา ฟื้นฟูความรู้และทักษะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานอนามัยแม่และเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
สามี/ญาติของหญิงตั้งครรภ์ 20
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง 20
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 90

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ ฝากครรภ์เร็วและฝากครรภ์คุณภาพและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์ได้
2.หญิงตั้งครรภ์และสามี/ญาติสามารถดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์คุณภาพ ฝากก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
72.30 75.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การเตรียมตัวคลอดและหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80ของหญิงตั้งครรภ์และสามี/ญาติ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การเตรียมตัวคลอดและหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
50.00 90.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด/เสี่ยงซีดได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและเหมาะสม
43.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0
สามี/ญาติของหญิงตั้งครรภ์ 20
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง 20
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 90

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์คุณภาพ ฝากก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การเตรียมตัวคลอดและหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด/เสี่ยงซีดได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์การฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์คุณภาพ ฝากก่อน 12 สัปดาห์ (2) อบรม/ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสามี/ญาติ ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ (3) การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง (4) พัฒนา ฟื้นฟูความรู้และทักษะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานอนามัยแม่และเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นส.โสภิตรา นารีเปน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด