กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา


“ โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคฉี่หนู ในประชาชนพื้นที่ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายจรูญ นาคพล

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคฉี่หนู ในประชาชนพื้นที่ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1481-2-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคฉี่หนู ในประชาชนพื้นที่ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคฉี่หนู ในประชาชนพื้นที่ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคฉี่หนู ในประชาชนพื้นที่ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1481-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,030.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า ช่วงช่วงฤดูฝน ทำให้มีน้ำท่วมขังตามท้องไร่ท้องนา ประชาชนควรระมัดระวังโรคเลปโตสไปโรสิส หรือโรคฉี่หนูเป็นพิเศษ เนื่องจากการเดินลุยน้ำ ย่ำโคลน หรือแช่น้ำเป็นเวลานาน มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคฉี่หนู  ได้ง่าย เชื้อโรคนี้จะเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล รอยถลอก และการรับประทานอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อ อาการของโรคฉี่หนูเริ่มจากมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว จะปวดมากโดยเฉพาะที่น่องและ โคนขา คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ตาแดง เป็นต้น หากมีอาการที่กล่าวมา ขอให้รีบไปพบแพทย์โดยเร็ว อย่าซื้อยามากินเอง เพราะอาจทำให้อาการรุนแรงขึ้นได้ ที่สำคัญขอให้แจ้งประวัติการเดินลุยน้ำให้แพทย์ทราบด้วย แพทย์จะได้ทำการรักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อโรคตามอาการ และความรุนแรงของโรค     โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ระบุอีกว่า สถานการณ์โรคไข้ฉี่หนูตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 2 ตุลาคม 2566 พบผู้ป่วย จำนวน 2,817 ราย เสียชีวิต 32 ราย กลุ่มอายุที่พบผู้ป่วยมากที่สุด คือ อายุ 45-54 ปี (18.53%) รองลงมาคืออายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป (18.03%) และอายุ 35-44 ปี (16.19%) ผู้ป่วยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรที่มีการเดินลุยน้ำย่ำโคลน     ดังนั้น เพื่อเป็นการรับมือโรคฉี่หนูที่อาจจะเกิดขึ้น ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในตำบลท่าพญา จึงต้องมีการร่วมมือกัน เพื่อไม่ให้เกิดแหล่งรังโรคสำหรับแพร่เชื้อโรคฉี่หนูในบริเวณที่มีน้ำขังละแวกบ้าน โดยเน้นให้ประชาชนทุกคน โดยเฉพาะประชนที่ประกอบอาชีพเสี่ยงต่อการเกิดโรคฉี่หนู เช่น เกษตรกร ชาวสวนยางพารา ปลูกปาล์มน้ำมัน เลี้ยงวัวและสุกร เป็นต้น ให้เห็นถึงความสำคัญ สามารถป้องกันและกำจัดแหล่งรังโรคได้ด้วยตนเอง จึงได้จัดทำโครงการ “อบรมให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคฉี่หนู ในประชาชนพื้นที่ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2567”เพื่อเป็นการสร้างภูมิป้องกัน โดยการให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคฉี่หนู โดยผู้ที่ประกอบอาชีพเสี่ยงต่อการเกิดโรคฉี่หนู สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ขณะทำงาน ทำให้ช่วยลดโอกาสติดเชื้อโรคฉี่หรือ และโอกาสเสียชีวิตจากโรคฉี่หนูได้ จึงได้จัดทำโครงการครั้งนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญา ในเรื่องโรคฉี่หนู(Leptospirosis) และวิธีการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถลดอัตราการป่วยจากโรคฉี่หนู(Leptospirosis)ในพื้นที่ตำบลท่าพญา 2 .ผุ้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องโรคฉี่หนู(Leptospirosis) สามารถป้องกันตนเองจากเรื่องโรคฉี่หนู(Leptospirosis) และกำจัดพาหะนำโรคได้ด้วยตนเอง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญา ในเรื่องโรคฉี่หนู(Leptospirosis) และวิธีการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม(ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญา) จำนวน 80 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 64 คน คิดเป็นร้อย 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญา ในเรื่องโรคฉี่หนู(Leptospirosis) และวิธีการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้ด้านการป้องกันโรคฉี่หนู ในประชาชนพื้นที่ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1481-2-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายจรูญ นาคพล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด