กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ในกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ในกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ”

ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ในกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1481-1-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ในกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ในกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ในกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1481-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,430.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs (Non-Communicale diseases) เช่น โรคหัวใจ-หลอดเลือด มะเร็ง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน เป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตและคนไทยมากกว่า 14 ล้านคนกำลังเผชิญกับโรค NCDs มากกว่า 4.8 ล้านคนเป็นโรคเบาหวาน และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเป็น 5.3 ล้านคนในปี 2583 โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ระบุว่า ในปี2566 ได้มีการสำรวจผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งประเทศ โดยพบประชาชนจำนวน 14 ล้านคนได้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งอาจมีแนวโน้มที่จะเพิ่มอีกด้วย เนื่องจากปัจจุบันมีการลงพื้นที่คัดกรองพบประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง และผู้สงสัยป่วยใหม่ความดันโลหิตสูงในแต่ละพื้นที่เพิ่มมากขึ้น  กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยังได้ระบุอีกว่า คนไทยป่วยเป็นโรคเบาหวานเพิ่มสูงปีละ 3 แสนคน ซึ่งต่อเสี่ยงภาวะแทรกซ้อน ขณะทั่วโลกพบป่วยโรคเบาหวาน 537 ล้านคน อีก 90 เปอร์เซ็นต์ป่วยเบาหวานชนิด 2 ยังไม่ได้วินิจฉัย คาดปี 2588 เพิ่มถึง 783 ล้านคน   โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าพญา จึงได้จัดทำโครงการ “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ในกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน” ขึ้นมา เพื่อต้องการนำกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ที่พบจากการค้นพบจากการคัดกรองประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในหมู่บ้าน เข้าสู่การอบรมให้ความรู้ และนำไปสู่การติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทำให้ผู้เข้ารับอบรมได้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสมยิ่งขึ้น ห่างไกลจากกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอันตรายจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และมีความรู้ในด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในระยะเวลา 1 เดือน
  2. ผู้ที่เข้ารับการอบรม หลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นระยะเวลา 1 เดือน ได้เข้ารับการวัดค่าความดันโลหิต และค่าน้ำตาลในเลือดซ้ำ ในรายที่พบว่าผิดปกติ จะรับการส่งตัวไปพบแพทย์ที่โรงพยาลเพื่อตรวจรักษาต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 .กลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจนมีค่าความดันโลหิต และค่าน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2. ผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่ไม่สามารถลดค่าความดันโลหิต และค่าน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไป 1 เดือน ต้องได้รับการส่งตัวไปพบแพทย์ที่โรงพยาลเพื่อตรวจรักษาต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอันตรายจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และมีความรู้ในด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในระยะเวลา 1 เดือน
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 60 คน ทำแบบประเมินความรู้หลังอบรมผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 48 คน คิดเป็นร้อย 80

     

    2 ผู้ที่เข้ารับการอบรม หลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นระยะเวลา 1 เดือน ได้เข้ารับการวัดค่าความดันโลหิต และค่าน้ำตาลในเลือดซ้ำ ในรายที่พบว่าผิดปกติ จะรับการส่งตัวไปพบแพทย์ที่โรงพยาลเพื่อตรวจรักษาต่อไป
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 60 คน ได้เข้ารับการวัดค่าความดันโลหิต และค่าน้ำตาลในเลือดซ้ำหลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นระยะเวลา 1 เดือน จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อย 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอันตรายจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และมีความรู้ในด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในระยะเวลา 1 เดือน (2) ผู้ที่เข้ารับการอบรม หลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นระยะเวลา 1 เดือน ได้เข้ารับการวัดค่าความดันโลหิต และค่าน้ำตาลในเลือดซ้ำ ในรายที่พบว่าผิดปกติ จะรับการส่งตัวไปพบแพทย์ที่โรงพยาลเพื่อตรวจรักษาต่อไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค ในกลุ่มเสี่ยงและผู้สงสัยป่วยใหม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1481-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด