กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ของคนบ้านควนปี 2567 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางปทุมมาศ โลหะจินดา ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.ตำบลบ้านควน

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ของคนบ้านควนปี 2567

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-1-06 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ของคนบ้านควนปี 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ของคนบ้านควนปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ของคนบ้านควนปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5307-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,044.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตผล กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยสถานการณ์โรคไวรัสตับอักเสบบีทั่วโลก พบผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรังทั่วโลก กว่า 257 ล้านคน ส่วนสถานการณ์ในประเทศไทย พบผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ประมาณ 2.2-3 ล้านคน โดยการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B virus : HBV) ส่งผลต่อการเจ็บป่วย เช่น มะเร็งตับ พบในเพศชาย (33.4 ต่อแสนประชากร) และพบในเพศหญิง (12.3 ต่อแสนประชากร) มีช่องทางการติดเชื้อ คือ ทางเลือด เพศสัมพันธ์ และการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูก ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่อันตราย หากได้รับเชื้อแล้วไม่เข้าสู่กระบวนการรักษา มีโอกาสเป็นตับอักเสบเรื้อรัง ตับวาย ตับแข็ง และมะเร็งตับได้ทั้งนี้ โรคไวรัสตับอักเสบบี สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบี และรักษาได้ด้วยการรับประทานยาต้านไวรัส เพื่อควบคุมปริมาณไวรัสในร่างกาย ลดภาวะการเกิดพังผืดของตับ ชะลอการเกิดตับแข็ง และลดการเกิดมะเร็งตับ แต่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้น กรมควบคุมโรค จึงเร่งส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของโรคไวรัสตับอักสบบี สามารถประเมินความเสี่ยงของตนเองและคนรอบข้าง หากมีพฤติกรรมเสี่ยงให้เข้ารับบริการตรวจคัดกรองและการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบบีโดยเร็ว สถานการณ์โรคไวรัสตับอักเสบซีในอดีต ปี พ.ศ.2550 มีรายงานผู้ป่วยรวม 1,140 ราย (ร้อยละ 11.42 ของผู้ป่วยตับอักเสบรวม) อัตราป่วย 1.81 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิตพบผู้ป่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง เพศชาย 726 ราย เพศหญิง 414 ราย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 1.7 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือกลุ่มอายุ 45 - 54 ปี รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 55 - 64 ปี และ 35 - 44 ปี อัตราป่วย 4.26, 3.43 และ 2.55 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ พบผู้ป่วยใหม่ในทุกเดือนโดยพบสูงสุดในเดือน ตุลาคมจำนวนผู้ป่วย เท่ากับ 130 ราย และต่ำสุดในเดือน ธันวาคม และ สิงหาคม เท่ากับ 77 ราย โดยในปี พ.ศ.2550 พบผู้ป่วยใหม่สูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปีในทุกเดือนในบรรดาโรคร้ายที่คุกคามร่างกายเราได้ อย่างเงียบเชียบ ไวรัสตับอักเสบซีถือเป็นโรคที่น่าเป็นห่วงมากที่สุดโรคหนึ่งทั้งนี้เพราะในบรรดาโรคไวรัสตับอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่มีอยู่ ถึง 5 ชนิด คือ A, B, C, D และ Eไวรัสที่พบมากที่สุดคือไวรัสตับอักเสบชนิดซี เพราะสามารถเป็นเรื้อรังได้บ่อย ไม่ติดต่อทางอาหาร และผู้ป่วยมักไม่ทราบว่าตัวเองติดเชื้อ ที่ร้ายกว่านั้นคือ ไวรัสตับอักเสบซี เป็นอีกสาเหตุสำคัญของมะเร็งตับ ไวรัสตับอักเสบซี ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2532 เป็นไวรัสตับอักเสบชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดการอักเสบในตับ สามารถทำให้เกิดการตับอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรังตลอดจนตับแข็งและมะเร็งตับ ความรุนแรงของไวรัสชนิดนี้คือ เป็นตับอักเสบเรื้อรังมากกว่าชนิดอื่น และยังไม่มีวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ ทำได้ก็เพียงการให้ยาลดไวรัสและป้องกันการเกิดมะเร็งตับเท่านั้น ทั้งนี้ หากประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี ให้เข้ารับการคัดกรองและเข้าสู่ระบบริการรักษาโดยเร็ว เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี ภาวะตับแข็ง และโรคมะเร็งตับ เพื่อนำไปสู่การกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีให้หมดไปภายในปี 2573 และเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี จำนวน 1 ครั้ง รพ.สต.ต.บ้านควน ได้เห็นความสำคัญของการให้ความรู้ คัดกรอง ค้นหา ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และไวรัสตับอักเสบซีปี 2567 เพื่อหาแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี และการส่งต่อเพื่อเข้าสู่ระบบการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี
  2. เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ อสม. เรื่องโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี และการป้องกัน
  2. จัดรณรงค์ตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี
  3. สรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป 720

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี ร้อยละ 10
  2. ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษาพยาบาลทุกราย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี
0.00 10.00

 

2 เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยรักษา
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 720
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป 720

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี (2) เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ อสม. เรื่องโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี และการป้องกัน (2) จัดรณรงค์ตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี (3) สรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ของคนบ้านควนปี 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปทุมมาศ โลหะจินดา ตำแหน่ง ผอ.รพ.สต.ตำบลบ้านควน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด