กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567 ”

ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซ๊ะ อาลี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4147-02-02 เลขที่ข้อตกลง 9/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4147-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แม้กระทรวงสาธารณสุขจะมีนโยบายส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในครัวเรือนเพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นมาหลายปี แต่สัดส่วนการใช้ยาสมุนไพรในชุมชนยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดมาก แม้จะ มีการปลูกพืชสมุนไพรหลากหลายชนิดใน ทุกๆ เขตพื้นที่ สมุนไพรบางชนิดหาได้ง่ายและราคาถูก อีกทั้งยังผ่านการศึกษาค้นคว้าและวิจัย เพื่อรองรับองค์ความรู้อย่างจริงจังว่าให้ผลลัพธ์ที่ดีในส่วนของการรักษาอาการเจ็บป่วย นำมาใช้ได้ง่าย และมีความปลอดภัยต่อสุขภาพประชาชน
จากการเก็บข้อมูลการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีการใช้ยาแผนปัจจุบันมากกว่าการใช้สมุนไพรในการรักษา ประชาชนในชุมชนมีการพึ่งหมอและโรงพยาบาลมากกว่าการดูแลสุขภาพโดยการพึ่งพาตนเองและใช้สมุนไพรต่างๆในการรักษา การใช้สมุนไพรเป็นหนทางหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพเบื้อฃต้นให้กับคนในชุมชน มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมไทยในอดีตให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น
ดังนั้นชมรม อสม.ตำบลบาโงยซิแน จึงได้ทำการโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ” โดยมีการอบรมการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใกล้ตัว เช่น ยาดมสมุนไพร ตำรับยาสมุนไพรรักษาอาการป่วยเบื้องต้น ฯลฯ และวิธีการดูแลสุขภาพเบื้องต้นตามแนวทางการแพทย์แผนไทย เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชน มีความเข้าใจในการดูแลตนเอง มองเห็นคุณค่าของยาไทย สมุนไพรไทย ที่มีอยู่มากมายในชุมชนของตนเอง และรู้จักเลือกสรรนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ มีแนวทางในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวตามแนวทางการแพทย์แผนไทยเพื่อประชนคนไทยมีสุขภาพที่ดีถ้วนหน้า จากสถานการณ์ปัจจุบันที่สนับสนุนการใช้แพทย์ทางเลือก โดยทุกวันนี้ได้เล็งเห็นถึงการแพทย์แผนไทยที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ในการปฐมพยาบาล รักษาเบื้องต้น จึงให้ความสำคัญของการใช้สมุนไพร จากการสำรวจพบชุมนตำบลบาโงยซิแน ในปี 2566 มีการใช้สมุนไพรน้อยอยู่ ที่ 200 หลังคาเรือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการนำนำสมุนไพรในชุมชน มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ
  2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีผลิตภัณฑ์เพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะและอาการอื่นๆเบื้องต้นได้มาใช้ในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนำสมุนไพรในชุน มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะและอาการอื่นๆเบื้องต้นได้
2.ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการอบรมมีผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ผลิตเองเพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะและอาการอื่นๆเบื้องต้นไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการนำนำสมุนไพรในชุมชน มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนำสมุนไพรในชุมชน มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ
40.00 80.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีผลิตภัณฑ์เพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะและอาการอื่นๆเบื้องต้นได้มาใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการอบรมมีผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ผลิตเองเพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะและอาการอื่นๆเบื้องต้นไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการนำนำสมุนไพรในชุมชน มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ (2) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีผลิตภัณฑ์เพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะและอาการอื่นๆเบื้องต้นได้มาใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4147-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาซ๊ะ อาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด