กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง


“ โครงการพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์อันตรายในชุมชน ตำบลปากบาง ”



หัวหน้าโครงการ
นางดวงฤดี หลังนุ้ย

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์อันตรายในชุมชน ตำบลปากบาง

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5191-01-06 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์อันตรายในชุมชน ตำบลปากบาง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์อันตรายในชุมชน ตำบลปากบาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์อันตรายในชุมชน ตำบลปากบาง " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5191-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันกระแสรักสุขภาพและการใส่ใจดูแลสุขภาพของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปทำให้ผู้บริโภคหันมาให้ความสำคัญในการดูแลเชิงป้องกันและเสริมสร้างความแข็งแรงของร่างกายมากขึ้น ผลิตภัณฑ์สุขภาพจึง เป็นผลิตภัณฑ์ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีวัตถุประสงค์การใช้เพื่อสุขภาพอนามัย รวมถึงเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนเป็นผลิตภัณฑ์ที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยอันอาจทำให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายหรือไม่ปลอดภัยในการบริโภคซึ่งถือเป็นภารกิจหนึ่งที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขต้องส่งเสริมผู้บริโภคให้มีความรู้ และมีศักยภาพในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่าง ปลอดภัย และคุ้มค่า รวมทั้งการ สร้างความตระหนัก โดยให้ผู้บริโภครู้ถึงอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย และการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างไม่เหมาะสม สถานการณ์การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพของตำบลปากบาง มีการเยี่ยมประเมินร้านชำมาอย่างต่อเนื่อง จนในปี 2567 มีร้านชำผ่านเกณฑ์ 27 ร้าน จากร้านชำทั้งสิ้น 32 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 84.37 แต่กลับพบว่า ยังพบปัญหาการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สงสัยไม่ปลอดภัยในชุมชน ในโรงเรียน ตลอดจนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ ได้แก่ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม ยาแผนโบราณที่ไม่มีเลขทะเบียนยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง และจากข้อมูลการเยี่ยมบ้าน ปี 2566 จำนวน 67 หลัง พบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สงสัยไม่ปลอดภัย ร้อยละ 10.44 ซึ่งส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะในผู้สูงอายุและป่วยโรคเรื้อรัง
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตูหยง ได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้ผู้บริโภคปลอดภัยจากการใช้บริการด้านสุขภาพและผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ ไม่ว่าเป็นอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ รวมทั้งการ สร้างความตระหนัก โดยให้ผู้บริโภครู้ถึงอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย และการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างไม่เหมาะสม สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย เพื่อการมีสุขภาพที่ดีโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี และเป็นตัวอย่างการดำเนินงานให้กับพื้นที่อื่นๆต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การดำเนินงานพัฒนาทีมนำเครือข่ายเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ในชุมชน
  2. จัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวัง และรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 53
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
50.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 73
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 53
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การดำเนินงานพัฒนาทีมนำเครือข่ายเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ในชุมชน (2) จัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวัง และรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์อันตรายในชุมชน ตำบลปากบาง จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5191-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดวงฤดี หลังนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด