กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการครูใส่ใจ หนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อ ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณา โคแหละ

ชื่อโครงการ โครงการครูใส่ใจ หนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1504-3-09 เลขที่ข้อตกลง 17/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครูใส่ใจ หนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครูใส่ใจ หนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครูใส่ใจ หนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1504-3-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,323.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ ที่เด็กเข้ามาอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก ทำให้เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายและติดต่อระหว่างกันได้ง่าย เมื่อเด็กเจ็บป่วยด้วยโรค โดยเฉพาะโรคหวัด โรคมือเท้าปาก ซึ่งพบบ่อยในเด็กวัยนี้ เนื่องจากเด็กเล็กเป็นช่วงวัยที่ภูมิต้านทานต่อโรคต่ำทำให้เด็กเจ็บป่วยได้ง่ายส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็ก ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาและสุขภาพโดยรวมของเด็ก ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมีมาตรการป้องกันการเกิดโรคติดต่อในเด็ก เพื่อให้เด็กได้มีสุขภาพที่ดี โดยเริ่มจากการสร้างสุขนิสัยและสุขอนามัยที่ดีให้แก่เด็ก เช่นการล้างมือด้วยสบู่เป็นประจำ การไม่คลุกคลีหรือใช้ของร่วมกับผู้อื่น การจัดสภาพแวดล้อมที่ดี รักษาความสะอาดของสถานที่ ไม่ว่าจะเป็นห้องน้ำ ห้องครัว ห้องเรียนให้สะอาดถูกสุขลักษณะที่ดี เพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีของเด็กทำให้เด็กมีความพร้อมทุกด้าน ช่วยลดอัตราการเกิดโรคติดต่อที่มีผลกระทบต่อสุขภาพเด็ก รวมทั้งแก้ปัญหาการหยุดเรียนของเด็กได้
      ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีบทบาทหน้าที่ในการให้บริการ อบรมเลี้ยงดูจัดประสบการณ์ เห็นความสำคัญในเรื่องสุขภาพเด็กมาตลอด จึงร่วมมือกับผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กในการดูแลด้านสุขภาพของเด็ก เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรคติดต่อต่างๆในเด็กทำให้เด็กมีสุขภาพที่ดีต่อไปและส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญาให้เหมาะสม ซึ่งการส่งเสริมเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยนั้น การดูแลสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญซึ่งหากเด็กมีสุขภาพดีร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคต่างๆเด็กจะสามารถได้รับการพัฒนาด้านอื่นๆได้ดีต่อไป       ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จึงได้จัดทำโครงการครูใส่ใจ หนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อให้เด็กปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้อันจะส่งผลให้เด็กมีสุขภาพดีมีพัฒนาการสมวัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยแก่ ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็กและ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก
  2. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของเด็ก และสามารถคัดกรองอาการป่วยของเด็กได้
  3. เพื่อให้ ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็ก บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก มีทักษะและรู้วิธีการดูแลเด็กป่วยเบื้องต้น
  4. เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 6
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็ก บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อในเด็ก และร่วมกัน   ป้องกันควบคุมการเกิดโรคติดต่อต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็ก บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก มีทักษะในการคัดกรองอาการป่วยของเด็กได้ถูกต้อง 3.ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็ก บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก มีทักษะในการดูแลเด็กป่วยเบื้องต้น 4.เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยแก่ ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็กและ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของเด็ก และสามารถคัดกรองอาการป่วยของเด็กได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็ก บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก มีทักษะและรู้วิธีการดูแลเด็กป่วยเบื้องต้น
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 61
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 6
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยแก่ ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็กและ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก (2) เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของเด็ก และสามารถคัดกรองอาการป่วยของเด็กได้ (3) เพื่อให้ ผู้ปกครอง ครู ผู้แลเด็ก บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็ก มีทักษะและรู้วิธีการดูแลเด็กป่วยเบื้องต้น (4) เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการครูใส่ใจ หนูน้อยปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1504-3-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวรรณา โคแหละ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด