กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptrospirosis) ในชุมชนอย่างเร่งด่วน ”

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptrospirosis) ในชุมชนอย่างเร่งด่วน

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1520-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 ธันวาคม 2560 ถึง 31 มกราคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptrospirosis) ในชุมชนอย่างเร่งด่วน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptrospirosis) ในชุมชนอย่างเร่งด่วน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptrospirosis) ในชุมชนอย่างเร่งด่วน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1520-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 ธันวาคม 2560 - 31 มกราคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์อุทกภัย ภัยพิบัติในพื้นที่ปัจจุบัน ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อสูง ซึ่งพื้นที่อำเภอวังวิเศษเป็นพื้นที่ราบลุ่มพื้นที่เกษตรกรรมด้านการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันอีกทั้งยังมีบริเวณที่มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทั้งในสวนยางพาราและปาล์มน้ำมันและบริเวณที่อยู่อาศัยประกอบกับภาคใต้มีฤดูฝนติดต่อกันเป็นเวลานานซึ่งในปี 2560 มีฝนตกติดต่อกันเป็นเวลานาน ทำให้ประชาชนขาดรายได้ ไม่สามารถไปทำงานตามปกติได้ ประชาชนที่ทำสวนก็มีปัญหาน้ำท่วมที่ทำกิน จึงส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก ซึ่งโรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู มักจะมาช่วงฤดูฝน ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเดินย่ำโคลนหรือพื้นที่ที่มีน้ำขังด้วยเท้าเปล่า ฝนที่ตกหนักติดต่อกันเป็นช่วงๆ ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมขังในพื้นที่ต่างๆ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือ "โรคฉี่หนู" ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชื่อว่า เชื้อเลปโตสไปร่า (Leptospirosis) เข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล รอยขีดข่วน รอยถลอกตามผิวหนัง เยื่อบุตา จมูก ปาก หรือไชเข้าผิวหนังที่แช่น้ำเป็นเวลานาน พบมากในพื้นที่ที่มีการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันเนื่องจากต้องเดินย่ำน้ำหรือพื้นดินที่ชื้นแฉะ อาการของโรคคือมีไข้สูงทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดเจ็บกล้ามเนื้อที่โคนขาและน่องอย่างมาก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ตาแดง บางรายอาจมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ไอมีเลือดปนหรือตัวเหลืองตาเหลือง เนื่องจากเยื้อหุ้มสมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ตับวาย ไตวาย และเสียชีวิตได้ นับตั้งแต่วันที่1 มกราคม 2560 ถึงวันที่11 ธันวาคม 2560จังหวัดตรังได้รับรายงานผู้ป่วยโรคLeptospirosisจำนวนทั้งสิ้น 138 รายคิดเป็นอัตราป่วย 21.60ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 4ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ0.63 อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ2.90อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคืออำเภอวังวิเศษ พบผู้ป่วยจำนวน 18 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 41.57ต่อประชากรแสนคน เมื่อแยกรายตำบลพบว่าตำบลอ่าวตงพบผู้ป่วยสูงที่สุดถึง 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 65.24 ต่อแสนประชากรรองลงมา คือตำบลท่าสะบ้า จำนวน 3 ราย อัตราป่วย 55.27 ต่อแสนประชากรและตำบลวังมะปราง 2 ราย อัตราป่วย 52.92 ต่อแสนประชากรตำบลวังมะปรางเหนือ 3 ราย อัตราป่วย 33.39 ต่อแสนประชากรตำบลเขาวิเศษ 2 ราย อัตราป่วย 16.01 ต่อแสนประชากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปงมีความห่วงใยสุขภาพประชาชนและตระหนักถึงโรคภัยที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptospirosis)ในชุมชนอย่างเร่งด่วนแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคฉี่หนูในช่วงฤดูฝนและช่วงน้ำท่วม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านในปง
  2. เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว
  3. เพื่อให้แกนนำสามารถคัดกรองผู้ป่วยโรคฉี่หนูและประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคฉี่หนู
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคฉี่หนู

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,831
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและสามารถป้องกันตนเองจากโรคเลปโตสไปโรซีส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู และกำจัดพาหะนำโรคได้ด้วยตัวเอง
  2. สามารถลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปง.

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคฉี่หนู

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการอบรมแกนนำความรู้เรื่องโรคฉี่หนูและคัดกรองผู้ป่วยในพื้นที่เชิงรุก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อบรมแกนนำความรู้เรื่องโรคฉี่หนูและการคัดกรองผู้ป่วยฝนพื้นทีเชิงรุก 56คน
2.สำรวจ ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่ (2,831 คน พบผู้ป่วยสงสัย 2 ราย)

 

56 0

2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคฉี่หนู

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคฉี่หนู

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อบรมแกนนำความรู้เรื่องโรคฉี่หนูและการคัดกรองผู้ป่วยฝนพื้นทีเชิงรุก 56คน
2.สำรวจ ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่ (2,831 คน พบผู้ป่วยสงสัย 2 ราย) 3.ประชาสัมพันธ์ความรู้โดยรถแห่ประชาสัมพันธ์ จำนวน 2 วัน 4.ให้ความรู้โดยการแจกแผ่นพับความรู้เรื่องโรคฉี่ทุกหลังคาเรือน(948 หลังคาเรือน) 5.ติดป้ายไวนิลให้ความรู้เรื่องโรคฉี่หนู สาเหตุการเกิดโรค อาการแสดงของโรคและการป้องกันการเกิดโรคไว้ในบริเวณชุมชนทุกหมู่บ้าน

 

2,831 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.อบรมแกนนำความรู้เรื่องโรคฉี่หนูและการคัดกรองผู้ป่วยฝนพื้นทีเชิงรุก 56  คน
2.สำรวจ ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่ (2,831 คน พบผู้ป่วยสงสัย 2 ราย) 3.ประชาสัมพันธ์ความรู้โดยรถแห่ประชาสัมพันธ์ จำนวน 2 วัน 4.ให้ความรู้โดยการแจกแผ่นพับความรู้เรื่องโรคฉี่ทุกหลังคาเรือน(948 หลังคาเรือน) 5.ติดป้ายไวนิลให้ความรู้เรื่องโรคฉี่หนู สาเหตุการเกิดโรค อาการแสดงของโรคและการป้องกันการเกิดโรคไว้ในบริเวณชุมชนทุกหมู่บ้าน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านในปง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคฉี่หนู
2,831.00

 

3 เพื่อให้แกนนำสามารถคัดกรองผู้ป่วยโรคฉี่หนูและประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 แกนนำสามารถคัดกรองโรคฉี่หนูได้ถูกต้อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2831
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,831
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านในปง (2) เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว (3) เพื่อให้แกนนำสามารถคัดกรองผู้ป่วยโรคฉี่หนูและประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคฉี่หนู (2) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคฉี่หนู

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptrospirosis) ในชุมชนอย่างเร่งด่วน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1520-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด