กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการชมรมสูงอายุสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุพิชชา หมาดสกุล

ชื่อโครงการ โครงการชมรมสูงอายุสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-1-9 เลขที่ข้อตกลง 35/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชมรมสูงอายุสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชมรมสูงอายุสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชมรมสูงอายุสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5307-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มสูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงและเตรียมพร้อมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีสภาพร่างกายที่เสื่อมและถดถอยลงเป็นไปตามกาลเวลา ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวและดำเนินชีวิตเพียงลำพัง สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจและค่านิยมต่างๆ เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ดูแลสุขภาพของตนเองของผู้สูงอายุ จำเป็นต้องได้รับการดูแลและช่วยเหลือเพื่อให้เขาเหล่านั้นได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี หากได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอแล้ว ผู้สูงจะมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น การที่มีชมรมนี้เพื่อที่จะได้เป็นแหล่งพบปะของผู้สูงอายุ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน การช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ ลดความรู้สึกการโดนทอดทิ้งการอยู่อย่างโดดเดี่ยวและดำเนินชีวิตเพียงลำพังลง ใช้ชีวิตอย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) ในผู้สูงอายุ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง
  3. ส่งเสริมให้มี การดำเนินกิจกรรมชมรมของ ผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1 การตรวจคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) และการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ ในผู้สูงอายุ
  2. อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ
  3. เยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีของทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม 2.ผู้สูงอายุได้ร่วมกิจกรรม มีการพบปะพูดคุยมีกำลังใจ สร้างความรัก ความอบอุ่น ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้สูงอายุกับคนทุกวัยให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข 3.แกนนำผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม จะสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ให้กับผู้สูงอายุรายอื่น ให้มองเห็นคุณค่า ประโยชน์ของการได้เข้าร่วมกิจกรรม เกิดการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้านอยากออกมาพบปะเพื่อนวัยเดียวกัน ลดความเครียด คลายความเหงา และมีความสุข มองเห็นคุณค่าของตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) ในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) ในผู้สูงอายุ
90.00 95.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ผู้สูงอายุ มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง
60.00 85.00

 

3 ส่งเสริมให้มี การดำเนินกิจกรรมชมรมของ ผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ส่งเสริมให้มี การดำเนินกิจกรรมชมรมของ ผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว
50.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) ในผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง (3) ส่งเสริมให้มี การดำเนินกิจกรรมชมรมของ ผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพ การเยี่ยมกันเองในกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วย และการดูแลซึ่งกันและกันระยะยาว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 การตรวจคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) และการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ ในผู้สูงอายุ (2) อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ (3) เยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชมรมสูงอายุสูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-1-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพิชชา หมาดสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด