กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกลือ


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศพด.บ้านพระม่วง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”

ตำบลนาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวิลาวรรณ สุเหร็น

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศพด.บ้านพระม่วง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลนาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1466-03-07 เลขที่ข้อตกลง 20/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2567 ถึง 30 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศพด.บ้านพระม่วง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกลือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศพด.บ้านพระม่วง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศพด.บ้านพระม่วง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1466-03-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2567 - 30 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,224.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกลือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรค มือ เท้า ปาก นับเป็นโรคที่ระบาดในเด็กโรคหนึ่ง ที่พบทุกปี  โดยเฉพาะในช่วงที่เริ่มเข้าหน้าฝน เป็นช่วงที่มีอัตราการระบาดของโรคนี้สูง พบบ่อยในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี จากสถิติการเจ็บป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปากของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระม่วง ในปี 2566 พบเด็กป่วย จำนวน 7 คน ซึ่งพบได้ว่าในทุกปีจะมีอัตราการป่วยของเด็กด้วยโรคนี้ โดยปกติโรคนี้เป็นโรคที่ไม่น่ากลัว และหายเองได้โดยไม่มีปัญหา แต่ถ้าหากเกิดมีโรคแทรกซ้อนอานจะทำให้ก้านสมองอักเสบ และส่งผลให้เกิดภาวะหายใจและระบบไหลเวียนของโลหิตล้มเหลว ซึ่งถึงแก่ชีวิตได้อย่างรวดเร็ว โรคนี้ติดต่อกันได้ง่าย โดยการสัมผัส น้ำมูก น้ำลาย หรืออุจจาระของผู้ป่วยโดยตรงหรือทางอ้อม  โรค มือ เท้า ปาก ไม่มียารักษาจำเพาะ และยังไม่มีวัคซีนป้องกัน เด็กที่อยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมากมีโอกาสติดโรคกันได้ง่าย โดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระม่วงจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรค มือ เท้า ปากที่ถูกต้อง อันเป็นการลดอัตราการเจ็บป่วยและป้องกันการระบาด ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระม่วง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน โรคมือ เท้า ปาก ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปลอดภัยจากโรค มือ เท้า ปาก
  3. เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรค มือ เท้า ปาก มิให้เกิดการแพร่ระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดโรคมือ เท้าปาก แก่เด็ก นักเรียน ผู้ปกครอง และครู/ผู้ช่วย ครูผู้ช่วย/จนท. ศพด.
  2. จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์เพื่อใช้ในการป้องกันการแพร่ระยาดโรคมือ เท้า ปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 21
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 23
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระม่วง มีการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโรค มือ เท้า ปาก ร้อยละ 100
  2. เด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระม่วง ปลอดภัยจากโรคโรค มือ เท้า ปาก ร้อยละ 100
  3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระม่วง มีมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรค มือ เท้า ปาก ร้อยละ 100 ไม่ให้เกิดการระบาดของโรคหรือเกิดโรคซ้ำภายใน 14 วัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน โรคมือ เท้า ปาก ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันเด็กนักเรียน เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปากและสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

2 เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปลอดภัยจากโรค มือ เท้า ปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความปลอดภัยและไม่เป็นโรค มือ เท้าปาก

 

3 เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรค มือ เท้า ปาก มิให้เกิดการแพร่ระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระม่วง สามารถควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ไม่ให้เกิดการระบาดของโรคหรือเกิดโรคซ้ำภายใน 14 วัน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 44
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 21
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 23
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน โรคมือ เท้า  ปาก ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปลอดภัยจากโรค มือ เท้า ปาก (3) เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรค มือ เท้า ปาก มิให้เกิดการแพร่ระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดโรคมือ เท้าปาก แก่เด็ก นักเรียน ผู้ปกครอง และครู/ผู้ช่วย ครูผู้ช่วย/จนท. ศพด. (2) จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์เพื่อใช้ในการป้องกันการแพร่ระยาดโรคมือ เท้า ปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศพด.บ้านพระม่วง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1466-03-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิลาวรรณ สุเหร็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด