กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการลดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ ในเยาวชนและประชาชน ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรวิภา กุ้งมณี ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ

ชื่อโครงการ โครงการลดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ ในเยาวชนและประชาชน

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5264-2-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ ในเยาวชนและประชาชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ ในเยาวชนและประชาชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ ในเยาวชนและประชาชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5264-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,989.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการดำเนินการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ภายใต้ยุทธศาสตร์นโยบาย แอลกอฮอล์ระดับชาติ และใช้ พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮล์ พ.ศ.2551 และ พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2560 เป็นเครื่องมือนั้น สามารถควบคุมปริมาณผู้ดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่ให้เพิ่มสูงขึ้นอย่างกระโดด แต่เป้าหมายของธุรกิจ แอลกอฮอล์ได้เบนเข็มสู่เยาวชนเพิ่มมากขึ้น ดูได้จากการโฆษณา และกิจกรรม CSR (คว่ทีับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม)ในขณะที่ผู้บริโภคเดิมมีแนวโน้มเป็นบริโภคประจำ และบริโภคหนัก จนส่งผลต่อการเกิดอุบัติเหตุ การทะลเาะวิวาททำร้ายร่างกาย และยังก่อให้เกิดโรคต่างๆตามมา เช่น โรคมะเร็งลำไส้ มะเร็งช่องปาก โรคความดันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดหัวใจ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจโต กล้ามเนื้อหัวใจไม่แข็งแรง เกิดหัวใจวายได้ง่าย ฯลฯ ปัญหาในครอบครัว ตลอด ในปี 2563 มีปัจจัยภายนอกทั้งสภาพเศรษฐกิจ ปัญหาโรคระบาดโควิด - 19 มีการประกาศพระราชกำหนดฉุกเฉิน นับตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 ห้ามการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอออล์ ในช่วงเวลาดังกล่าวเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดโรค จึงมีความเป็นไปได้ที่ปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะไม่สูงขึ้น แต่จากสถานการณ์ที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเมื่อปัจจัยที่มีผลกระทบผ่านไปปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะกับมาสูงอีกครั้ง ทำให้มีความจำเป็นจต้องดำเนินการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างต่อเนื่องจริงจัง และดำเนิการในหลายมาตรการควบคู่กัน เช่น การควบคุมการเข้าถึงด้วยการเพิ่มภาษี จนส่งผลกระทบกับราคาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงขึ้นมากพอต่อการลดกำลังซื้อ การบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดจริงจัง การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ปรับทัศนคติ การขับเคลื่อนกลไกในระดับพื้นที่ดึงภาคีเครือข่าย โยเฉพาะชุมชน เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา รวมถึงการจัดบริการสุขภาพ เพิ่มการคัดกรองเพ่อดึงผู้มีปัญหาเข้าสู่ระบบ สิงเหล่านี้ช่วยลดปริมาณการดื่ม และปัญหาที่มาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ ดังนั้นการมีสุขภาพดีถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทย แต่สถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขเปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของบุคคล โดยทุกคนจะรู้จักเหล้า เป็นที่มาของปัญหาต่างๆแก่ผู้ดื่ม ทั้งเรื่องของสุขภาพ ทำให้เกิดโรคมากมาย รวมทั้งความรุนแรงในครอบครัว เศรษฐกิจ ชาต อาชญากรรม อุบัติเหตุที่ยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะน้ำเมา การรณรงค์ การสื่อสารเพื่อให้เข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของเหล้ายังคงเป็นเครื่องมือที่จำเป็นเพื่อป้องกันไม่ให้จำนวนนักดื่มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเยาวชนรุ่นใหม่ถือว่าเป็นช่วงวัยที่มีความคิดทันสมัย มีศักยภาพ และมีความเป็นพลเมือง เพียงแต่ไม่มีอำนาจมากพอที่จะแสดงพลังออกมาอย่างเต็มที่ รวมทั้งการใช้ชีวิตท่ามกลางสิ่งเล่าที่อาจนำไปสู่การปฏิบัติในทางที่ผิดได้ การเปิดพื้นที่สร้างโอกาสให้ได้แสดงพลังจะทำให้เด็กและเยาวชนสามารถดึงศักยภาพของตัวเองสร้างสรรค์สิ่งที่ดีได้ เกิดความภาคภูมิใจในการได้ลงมือทำ เป็นเกราะป้องกันที่เข้มแข็งให้เยาวชนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพห่างไกลเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ ตำบลทำนบนำโดยสภาเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่สามารถปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชนและประชาชนได้ตระหนักถึงโทษ พิษภัย และอันตรายต่อสุขภาพในการดื่มแอลกอฮอล์ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนได้ตระหนักถึงโทษพิษภัยของแอลกอฮอล์
  2. เพื่อลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชน และประชาชน
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา และนำเสนอเพื่อขออนุมัติโตรงการ
  2. แต่งตั้งคณะกรรมการ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม
  3. จัดทำโครงการลดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ ในเยาวชนและประชาชน
  4. สำรวจเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและประชาชนในพื้นที่
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้โทษ พิษภัยอันตราย โรคที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ ฯลฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้เยาวชนและคนในชุมชนตระหนักถึงโทษพิษภัยของแอลกอฮอล์
  2. ทำให้ลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก เยาวชน และประชาชน
  3. ทำให้เพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนและประชาชนได้ตระหนักถึงโทษพิษภัยของแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด : ทำให้เยาวชนและคนในชุมชนตระหนักถึงโทษพิษภัยของแอลกอออล์
70.00 80.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชน และประชาชน
ตัวชี้วัด : ทำให้ลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก เยาวชน และประชาชน
70.00 80.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ทำให้เพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
70.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนและประชาชนได้ตระหนักถึงโทษพิษภัยของแอลกอฮอล์ (2) เพื่อลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชน และประชาชน (3) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา และนำเสนอเพื่อขออนุมัติโตรงการ (2) แต่งตั้งคณะกรรมการ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม (3) จัดทำโครงการลดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ ในเยาวชนและประชาชน (4) สำรวจเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและประชาชนในพื้นที่ (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้โทษ พิษภัยอันตราย โรคที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ ฯลฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ ในเยาวชนและประชาชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5264-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรวิภา กุ้งมณี ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด