กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง


“ โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพในช่วงฤดูร้อน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิด Heat Stoke ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีฮัน มูนิ๊

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพในช่วงฤดูร้อน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิด Heat Stoke

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8286-1-05 เลขที่ข้อตกลง 07/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2567 ถึง 4 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพในช่วงฤดูร้อน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิด Heat Stoke จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพในช่วงฤดูร้อน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิด Heat Stoke



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพในช่วงฤดูร้อน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิด Heat Stoke " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8286-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2567 - 4 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงเดือนเมษายนหรือฤดูร้อน หลายจังหวัดในประเทศไทยมีอุณหภูมิทะลุสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส จนติด 1 ใน 15 ของเมืองที่ร้อนที่สุดในโลก อากาศที่ร้อนจัดทำให้เสี่ยงต่อโรคลมแดด โรคที่มีอันตรายถึงชีวิต ซึ่งในปี 2561 มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคฮีทสโตรกถึง 18 ราย และคาดการณ์ว่าจะมีผู้เสียชีวิตสูงขึ้นเรื่อยๆ จากภาวะอากาศร้อนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีโดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา (Body Temperature) ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ จะมีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่ 36.1-37 องศาเซลเซียส (°C) เพราะแม้ว่าเราจะไม่ทำกิจกรรมอะไรเลย อย่างการนอนนิ่งๆ นั่งเฉยๆ ร่างกายก็ยังมีความร้อน หรือมีอุณหภูมิในร่างกายที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญพลังงาน (Metabolism) อยู่แล้ว และเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจากการทำกิจกรรมหรือจากสภาพแวดล้อม ร่างกายจะจัดการตัวเองเพื่อให้อุณหภูมิกลับมาอยู่ในสภาวะปกติที่ควบคุมได้ เริ่มต้นจากการถ่ายเทความร้อนภายในออกสู่บรรยากาศรอบๆ โดยใช้หลักการที่ว่า “ที่ร้อนมากกว่าจะระบายความร้อนออกสู่ที่ร้อนน้อยกว่าและอีกทางหนี่ง เพื่อให้ร่างกายกำจัดความร้อนภายในออกได้อย่างรวดเร็ว ร่างกายจะจัดการด้วยการใช้น้ำในการนำพาความร้อนระบายออกมาในรูปของเหงื่อ ซึ่งหากทั้ง 2 วิธีที่ร่างกายใช้ในการจัดการกับความร้อนในร่างกายแล้วไม่ได้ผล ไม่ว่าสาเหตุจะเกิดจากเพราะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ร้อนมาก หรือร่างกายไม่มีน้ำเพียงพอที่จะใช้ในการระบายความร้อน อุณหภูมิในร่างกายก็จะสูงขึ้นจนเข้าสู่สภาวะ “โรคลมแดด” หรือ“ฮีทสโตรก (Heat stoke)” ได้ “ฮีทสโตรก” หรือ โรคลมแดด เกิดได้กับทุกเพศทุกวัย แต่สำหรับเด็กๆ แล้ว ความสนุกสนานหรือการเพลิดเพลินกับกิจกรรมกับเพื่อนๆ และความไร้เดียงสา อาจนำมาซึ่งอาการป่วยของเขาได้ พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือคนที่จัดกิจกรรมจึงต้องตระหนักในเรื่องนี้ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด รวมถึงควรเฝ้าสังเกตความผิดปกติที่เกิดในเด็กๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมนั้นๆ เพื่อลดความรุนแรงและโอกาสในการเกิดโรค ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลยะรังจึงจึงมองเห็นปัญหาดังกล่าว เพื่อการจัดส่งเสริมและป้องกันสุขภาพในช่วงฤดูร้อน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิด Heat Stroke อาจทำให้มีผู้ที่พบเจอกับโรคลมแดดหรือฮีทสโตรกมากกว่าปกติ หากปฐมพยาบาลได้ถูกต้องและทันท่วงทีสามารถหายเป็นปกติได้ แต่ไม่ควรประมาท เพราะหากไม่ทราบวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้นก็อาจทำให้อันตรายถึงชีวิตได้เช่นกัน ดังนั้นควรป้องกันตัวเองด้วยการหมั่นสังเกตอาการเมื่อออกแดด และปฏิบัติตามคำแนะนำที่กล่าวไปเบื้องต้นเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคลมแดดหรือฮีทสโตรก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองในช่วงฤดูร้อน เพื่อความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  2. 2. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปสามารถป้องกันและปฏิบัติตัวเองได้เมื่อเกิดภาวะ Heat Stroke หรือโรคลมแดดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลและป้องกันสุขภาพในช่วงภาวะฤดูร้อน
  3. ฝึกภาคปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.เด็ เยาวชน และประชาชนทั่วไปมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันโรค heat Stroke หรือโรคลมแดด ๒.เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปสามารถปฏิบัติตัวได้เบื้องต้น เมื่อเกิดภาวะ Heat Strokeหรือโรคลมแดด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองในช่วงฤดูร้อน เพื่อความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตัวเอง เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
2.00 2.00

 

2 2. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปสามารถป้องกันและปฏิบัติตัวเองได้เมื่อเกิดภาวะ Heat Stroke หรือโรคลมแดดได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 กลุ่มเป่าหมายสามารถปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดภาวะ Heat Stroke หรือโรคลมแดด
2.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองในช่วงฤดูร้อน เพื่อความเสี่ยงต่อการเกิดโรค (2) 2. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปสามารถป้องกันและปฏิบัติตัวเองได้เมื่อเกิดภาวะ Heat Stroke หรือโรคลมแดดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลและป้องกันสุขภาพในช่วงภาวะฤดูร้อน (3) ฝึกภาคปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพในช่วงฤดูร้อน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิด Heat Stoke จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8286-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีฮัน มูนิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด