กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มประสิทธิภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามหลักปฏิบัติอิบาดะอ์ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมฮาลาเกาะฮ์เรียนรู้กุรอานบ้านกาซา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มประสิทธิภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามหลักปฏิบัติอิบาดะอ์ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4115-02-08 เลขที่ข้อตกลง 67-L4115-02-08

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มประสิทธิภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามหลักปฏิบัติอิบาดะอ์ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มประสิทธิภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามหลักปฏิบัติอิบาดะอ์ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มประสิทธิภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามหลักปฏิบัติอิบาดะอ์ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4115-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการให้บริการดูแลสุขภาพในระบบสาธารณสุขที่สำคัญและครอบคลุมชีวิตความเป็นอยู่ของปัจเจกบุคคลนั้น ต้องใช้หลักการพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic Care) คือ การดูแลผู้รับบริการแบบมองให้ครบทุกด้านของความเป็นมนุษย์ ไม่แยกส่วน ให้การดูแลโดยคำนึงถึงองค์ประกอบในร่างกาย ได้แก่ ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ไม่ได้พิจารณาเฉพาะโรคที่เป็นหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย แต่พิจารณาจากความสัมพันธ์ของทั้ง  4 ด้านให้มีภาวะสมดุล คงไว้ซึ่งความมีสุขภาวะที่ดี โดยให้ความหมายของแต่ละด้าน ดังนี้ ได้แก่ ด้านร่างกาย (Physical) คือ ให้การดูแลที่เน้นให้ร่างกายมีความแข็งแรง มีพละกำลังที่สมบูรณ์ ด้านจิตใจ (Mental) คือ การมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข ปราศจากความเครียด สามารถปรับตัวต่อทุกสภาวะของร่างกายได้ดี มีความคิดความอ่าน ได้เหมาะสมตามวัย ด้านสังคม (Social) คือ ความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ในสังคม การอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น    ได้อย่างมีความสุข และมีระบบบริการที่ดี มีแหล่งช่วยเหลือที่เหมาะสม ด้านจิตวิญญาณ (Spiritual) หรืออาจหมายถึง ด้านปัญญา คือ การมีความสุขที่เกิดจากความเข้าใจความเป็นจริงของชีวิต ความเชื่อต่างๆ ที่ส่งผลต่อสุขภาพกาย และใจ โดยเฉพาะด้านจิตวิญญาณ ความเชื่อหรือด้านศาสนา
      ซึ่งการดูแลสุขภาพและสาธารณสุขในยุคปัจจุบันนั้นความเกี่ยวข้องระหว่างศาสนากับสุขภาพเป็นเรื่องสำคัญประการหนึ่งที่มีการกล่าวถึงอยู่ไม่น้อย ดังเช่น ศาสนาอิสลาม หากย้อนกลับไปพิจารณาวิถีของอิสลาม ซึ่งเป็นวิถีในการดำเนินชีวิตที่สมบูรณ์และครอบคลุมทุกๆด้าน (The way of life) เรื่องสุขภาพและความเจ็บป่วยนั้น อิสลามได้พูดถึงอย่างละเอียดทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นสิ่งที่มุสลิมทุกคนต้องนำมาการปฏิบัติ เราจะพบว่าวิถีชีวิตประจำวันของผู้นับถือศาสนาอิสลามดำเนินไปตามหลักคำสอนของอิสลาม ที่ครอบคลุมทุกอย่างเกี่ยวกับชีวิตของมนุษย์ เริ่มตั้งแต่หัวใจ และจิตใจของมนุษย์จนครอบคลุมทุกส่วนของร่างกาย และสภาพแวดล้อมที่มนุษย์ใช้ชีวิตอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดกรอบความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสุขภาพกับ ศาสนพิธี หรือ “อิบาดะอ์” เช่น การละหมาด การถือศีลอด การอาบน้ำละหมาด การออกกำลังกาย โภชนาการ การพักผ่อน การป้องกัน การรักษา การปฏิบัติตามคำสอนของอิสลามจึงเป็นการปฏิบัติดีเกี่ยวกับสุขภาพไปพร้อมกันด้วย โดยคำสอนทั่วไปของอิสลามเกี่ยวกับสุขภาพที่มีการปฏิบัติกันในชีวิตประจำวัน ได้แก่
1. ด้านความสะอาด ชาวมุสลิมถือว่าความสะอาดทางจิตใจมีความสำคัญ หมายถึงการตั้งมั่นต่ออัลลอฮ์แต่เพียงผู้เดียว และยังรวมถึงการขัดเกลาจิตใจให้ปลอดจากความอิจฉาริษยาส่วนความสะอาดของร่างกายนั้นก็สำคัญไม่น้อยไปกว่า จะพบว่ามีกฎเกณฑ์กำหนดไว้มากมาย เช่น การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย การตัดเล็บ การแปรงฟัน การสวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ฯลฯ
2. ด้านโภชนาการ เท่าที่พบหลักฐานโภชนาการตามแนวทางของอิสลามนั้น อาหารต้องครอบคลุมถึงอาหาร ทุกชนิดที่จำเป็นต่อร่างกาย เน้นความสำคัญของ นม น้ำผึ้ง เนื้อ ผลไม้ และผักต่างๆ ให้ความสำคัญเรื่องความสะอาดของอาหาร ไม่รับประทานอย่างฟุ่มเฟือย เป็นต้น
3. ด้านการออกกำลังกาย อิสลามถือว่าการมีร่างกายที่แข็งแรง และสุขภาพดีเป็นความโปรดปรานจากอัลลอฮ การรักษาความแข็งแรงและสุขภาพร่างกายของชาวมุสลิมจึงถือเป็นการตระหนักต่อความโปรดปรานจากอัลลอฮ หรือเป็นการปฏิบัติทางศาสนาด้วยเช่นกัน
    4.การป้องกันและบำบัดโรค ในหมู่ชาวมุสลิมให้ความสำคัญและเอาใจใส่ต่อเรื่องความสะอาด การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ การออกกำลังกายเป็นประจำ และการมีเวลาพักผ่อนที่เพียงพอ ตลอดจนมีวิธีการในการควบคุมโรคติดต่อเพื่อไม่ให้แพร่ระบาดด้วยตลอดจนสำหรับสุขภาพในศาสนพิธีของอิสลามนั้น เป็นทั้งกฎเกณฑ์เพื่อฝึกควบคุมร่างกายและส่งเสริมสุขภาพจิตไปพร้อมๆกัน ในการถือศีลอด ทุกๆปี มุสลิมจะถือศีลอดหนึ่งเดือน คือเดือนเราะมะฎอน นอกจากนั้นอิสลามยังส่งเสริมให้มีการถือศีลอดในโอกาสต่างๆ รวมทั้งการถือศีลอดในวันจันทร์และพฤหัสบดี หรืออย่างน้อยที่สุดในแต่ละเดือนจะถือศีลอดไม่น้อยกว่าสามวัน ซึ่งเป็นการกระทำแบบสมัครใจ กล่าวได้ว่าการถือศีลอดมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการสร้างสุขภาพ นั่นคือการสร้างระเบียบวินัยต่อร่างกายด้วยการฝึกความอดทนและการปรับตัว ในขณะที่การประกอบพิธีฮัจญ์นั้นจะกระทำไม่ได้เลยหากมีสุขภาพกายไม่ดี เพราะต้องใช้กำลังกายในการหมุน การเดินที่เป็นองค์ประกอบหรือเงื่อนไขของพิธีฮัจญ์ และสิ่งสำคัญอีกประการนึงก็คือ ในการละหมาด การละหมาดคือเสาหลักของศาสนา มุสลิมทุกคนจะทำการละหมาดภาคบังคับวันละห้าเวลา ความสะอาดถือเป็นเงื่อนไขสำคัญในการละหมาดแต่ละครั้ง คือต้องสะอาดทั้งสถานที่ เสื้อผ้าที่ใช้ รวมทั้งต้องอยู่ในสภาพที่สะอาดด้วยการอาบน้ำหรืออาบน้ำละหมาด อย่างไรก็ตาม การปฏิบัติในศาสนพิธีของอิสลามก็มีข้อยกเว้นสำหรับมุสลิมที่เจ็บป่วยหรืออยู่ระหว่างการเดินทางด้วย ดังนั้นแล้วการปฏิบัติตัวเป็นมุสลิมที่ดีจึงสอดคล้องกับการสร้างเสริมสุขภาพอันเป็นวิถีของอิสลามที่ปฏิบัติสืบต่อกันมานับจากอดีตจนปัจจุบัน   ในส่วนของพื้นที่ตำบลห้วยกระทิง ซึ่งได้แก่ หมู่ที่ 1, 2, 3, 4 ประชาชนนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 100 โดยในจำนวนนี้ มีจำนวนผู้ป่วยติดบ้าน และติดเตียงเป็นจำนวน รวม 22 ราย ซึ่งพบว่า ในเรื่องสุขภาพด้านจิตวิญญาณ หรือการได้ปฏิบัติกิจกรรมการละหมาด ซึ่งเป็นเสาหลักของศาสนา ที่ศาสนากำหนดปฏิบัติวันละ 5 เวลานั้น จากการเยี่ยมบ้านของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปกิบัติงานในพื้นที่พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ โดยเฉพาะผู้ป่วยติดเตียง ไม่ได้ปฏิบัติกิจกรรมการละหมาด 5 เวลา หรือละหมาดเพียงบางเวลา อาจจะเกิดจากความไม่เข้าใจคิดว่า ความเจ็บป่วย ภาวะติดเตียง ร่างกายไม่มีความพร้อม ร่างกายไม่สะอาดเพียงพอ หรือไม่สามารถอาบน้ำละหมาด เพื่อปฏิบัติการละหมาดดังกล่าวได้ ทำไห้ผู้ป่วยขาดละหมาดไปโดยปริยาย หรืออาจจะทำไปในแบบที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากไม่เข้าใจ หรือไม่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในส่วนนี้ ทางชมรมจิตอาสาสาธารณสุข ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในข้อนี้เป็นอย่างยิ่งจึงได้จัดทำโครงการชาวห้วยกระทิงร่วมใจ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย ติดบ้าน ติดเตียง ปฏิบัติอิบาดะอ์ได้สมบูรณ์ ประจำปี 2567 เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยด้วยการให้ความสำคัญกับทุกด้านของร่างกาย ดูแลคนแบบคนทั้งคน เพื่อส่งเสริมให้ผู้รับบริการมีสุขภาพกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณที่ดี กล่าวคือ มีความรู้สึกที่เป็นสุข สามารถปรับตัวต่อการรักษา ดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม คือสามารถอยู่ร่วมกับครอบครัวและสังคมได้อย่างมีความสุข และที่สำคัญสามารถปฏิบัติกิจวัตรที่ศาสนากำหนดได้อย่างต่อเนื่องแม้ยามป่วยไข้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยยามเจ็บป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยติด บ้านติดเตียง
  2. เพื่อให้บุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถให้คำแนะนำผู้ป่วยปฏิบัติการละหมาดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเคสผู้ป่วย ตลอดจนผู้ดูแลสามารถอำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยได้
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงสามารถปฏิบัติการละหมาดได้ และปฏิบัติได้ถูกต้องแม้ในยามเจ็บป่วย หรือมีข้อจำกัดกรณีเจ็บป่วย
  4. เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย สุขกาย สบายใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานชมรมจิตอาสาสาธารณสุข
  2. 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้ดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง
  3. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง
  4. ประชุมคณะทำงานชมรมจิตอาสาสาธารณสุขเกี่ยวกับโครงการ
  5. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้ดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง
  6. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยยามเจ็บป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยติด บ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ผู้ดูแลผู้ป่วยบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยยามเจ็บป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยติด บ้านติดเตียง

 

2 เพื่อให้บุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถให้คำแนะนำผู้ป่วยปฏิบัติการละหมาดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเคสผู้ป่วย ตลอดจนผู้ดูแลสามารถอำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ผู้ดูแลคนไข้และบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถให้คำแนะนำผู้ป่วยปฏิบัติการละหมาดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเคสผู้ป่วย ตลอดจนผู้ดูแลสามารถอำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยได้

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงสามารถปฏิบัติการละหมาดได้ และปฏิบัติได้ถูกต้องแม้ในยามเจ็บป่วย หรือมีข้อจำกัดกรณีเจ็บป่วย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงสามารถปฏิบัติการละหมาดได้ และปฏิบัติได้ถูกต้องแม้ในยามเจ็บป่วย หรือมีข้อจำกัดกรณีเจ็บป่วย

 

4 เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย สุขกาย สบายใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย สุขกาย สบายใจ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยยามเจ็บป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยติด บ้านติดเตียง (2) เพื่อให้บุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถให้คำแนะนำผู้ป่วยปฏิบัติการละหมาดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเคสผู้ป่วย ตลอดจนผู้ดูแลสามารถอำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยได้ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงสามารถปฏิบัติการละหมาดได้ และปฏิบัติได้ถูกต้องแม้ในยามเจ็บป่วย หรือมีข้อจำกัดกรณีเจ็บป่วย (4) เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย สุขกาย สบายใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานชมรมจิตอาสาสาธารณสุข (2) 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้ดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง (3) ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง (4) ประชุมคณะทำงานชมรมจิตอาสาสาธารณสุขเกี่ยวกับโครงการ (5) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้ดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง (6) ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและเพิ่มประสิทธิภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ตามหลักปฏิบัติอิบาดะอ์ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4115-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมฮาลาเกาะฮ์เรียนรู้กุรอานบ้านกาซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด