กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย


“ โครงการหมู่บ้านปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย ”

ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางเรียม เข็มครุฑ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 ธันวาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 ธันวาคม 2566 - 15 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ การมีสุขภาพดีของประชาชน ถือเป็นปัจจัยพื้นฐาน ในการดำรงชีวิตและพัฒนาประเทศ การส่งเสริมให้ทุกคนมีสุขภาพดี ไม่เกิดการเจ็บป่วย เป็นสิ่งสมควร ให้การสนับสนุน โดยในปีงบประมาณ 2548เป็นต้นมา รัฐบาลมีนโยบายประกาศให้มีการรณรงค์ด้านอาหารปลอดภัย เพราะฉนั้นอาหารที่ประชาชนบริโภคนั้น ต้องปลอดภัยจากการปนเปื้อนของสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพหรือก่อให้เกิดการเจ็บป่วยเฉียบพลันที่ส่งผลในระยะยาว ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนบริโภคอาหารที่ปลอดภัย จึงต้องมีระบบการดูแล ตรวจสอบคุณภาพที่ผลิตขึ้นทุกขั้นตอน ตั้งแต่วัตถุดิบ ( การเพาะปลูก หรือเพาะเลี้ยง ) การผลิต การแปรรูป การจัดจำหน่ายถึงผู้บริโภค ตลอดจนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการกำกับดูแล เฝ้าระวังอาหารที่ผลิตและบริโภค จากการดำเนินงานเมืองไทยแข็งแรงในปี 2550ในตัวชี้วัดเรื่องอาหาร สถานีอนามัยตำบลบ้านน้อยได้เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจเพื่อค้นหารสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ประเภท คือ ยาฆ่าแมลงสารกันรา สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ และสารฟอร์มาลิน พบยาฆ่าแมลงตกค้างในอาหารแต่ปลอดภัยจำนวน7 ตัวอย่างจากที่ส่งทั้งหมด50ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 14.00 และผลจากการตรวจเลือดเพื่อหาสารเคมีตกค้างจำนวน323คน พบไม่ปลอดภัยจำนวน15คนคิดเป็นร้อยละ4.6 ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบ้านน้อยได้เห็นความสำคัญของนโยบายอาหารปลอดภัยและเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มเกษตรปลอดสารพิษตำบลบ้านน้อยและสนับสนุนนโยบายเมืองไทย แข็งแรงจึงได้จัดทำโครงการกินดีปลอดภัยร่างกายปลอดสารพิษขึ้น เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการกำกับดูแลเฝ้าระวังอาหารที่ผลิตและบริโภคให้มีความปลอดภัยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีความตั้งใจผลิตอาหารที่ดี มีคุณภาพ และผู้บริโภคได้บริโภคอาหารและเลือกซื้ออาหารที่มีความปลอดภัยต่อตนเองและครอบครัว มีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปแบบของชมรมและยั่งยืน ประชาชนได้รับประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ส่วนรวม ไม่เจ็บป่วยจากการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือดและเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอาทิเช่น ดิน แม่น้ำ ของตำบลบ้านน้อยและหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งเป็นผลดีต่อประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านแผงลอย ร้านอาหารและประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องการ เลือกซื้อและการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ
  2. เพื่อให้ร้านชำ ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารมีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
  3. เพื่อส่งเสริมให้มีการขยายเครือข่ายกลุ่มเกษตรปลอดสารพิษ
  4. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านผ่านเวทีประชุมหมู่บ้านโดยมีกิจกรรมดังนี้
  2. ดำเนินกิจกรรมงานคุ้มครองผู้บริโภคดังนี้
  3. ส่งเสริมการขยายเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
  2. มีกลุ่มผู้ประสานงานเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษ
  3. มีการเฝ้าระวังงานคุ้มครองผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง
  4. ลดอัตราป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหาร และแพ้สารเคมีทางการเกษตร

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านแผงลอย ร้านอาหารและประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องการ เลือกซื้อและการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ร้านชำ ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารมีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้มีการขยายเครือข่ายกลุ่มเกษตรปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านแผงลอย ร้านอาหารและประชาชนทั่วไปมีความรู้เรื่องการ              เลือกซื้อและการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ (2) เพื่อให้ร้านชำ ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารมีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (3) เพื่อส่งเสริมให้มีการขยายเครือข่ายกลุ่มเกษตรปลอดสารพิษ (4) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านผ่านเวทีประชุมหมู่บ้านโดยมีกิจกรรมดังนี้ (2) ดำเนินกิจกรรมงานคุ้มครองผู้บริโภคดังนี้ (3) ส่งเสริมการขยายเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเรียม เข็มครุฑ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด