กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น


“ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน สานความห่วงใย สู่ลูกพัฒนาการสมวัย ร่างกายสมส่วน ปี 2566 ”

ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางสังคี สุขโพล้ง

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน สานความห่วงใย สู่ลูกพัฒนาการสมวัย ร่างกายสมส่วน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน สานความห่วงใย สู่ลูกพัฒนาการสมวัย ร่างกายสมส่วน ปี 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน สานความห่วงใย สู่ลูกพัฒนาการสมวัย ร่างกายสมส่วน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน สานความห่วงใย สู่ลูกพัฒนาการสมวัย ร่างกายสมส่วน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิต ซึ่งนับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์มารดาจนถึงอายุ 2 ปี มีความสำคัญอย่างมากต่อคุณภาพชีวิตของเด็ก เนื่องจากเป็นช่วงที่โครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุดทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงระหว่างเซลล์สมองเกิดเป็นโครงข่ายเส้นใยประสาทนับล้านโครงข่าย เป็นผลให้เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารระหว่างเซลล์สมอง ทำให้เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้จดจำ นอกจากนี้ การเจริญเติบโตด้านร่างกายเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน ส่วนสูงของเด็กที่อายุ 2 - 3 ปี ถือเป็น proxy indicator ของสุขภาพผู้ใหญ่และเป็นทุนมนุษย์ (Human capital) อีกทั้งยังเป็นช่วงของการสร้างอวัยวะต่างๆ ส่งผลต่อระบบภูมิต้านทานโรคระบบเผาพลาญ ระบบทางเดินอาหาร ของร่างกายให้สมบูรณ์ จากการศึกษาวิจัยในต่างประเทศ พบว่า สภาวะแวดล้อมโดยเฉพาะโภชนาการในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิต มีความสำคัญมากถึงร้อยละ 80 ต่อการกำหนดภาวะสุขภาพไปตลอดชีวิต กรมอนามัยขับเคลื่อนงานด้วยการวางรากฐานตั้งแต่ 1,000 วันแรกของชีวิต โดยให้ความสำคัญกับโภชนาการที่ดีตั้งแต่ทารกในครรภ์มารดาจนถึงอายุ 2 ปี ซึ่งให้ผลที่คุ้มค่ามากกว่าช่วงวัยอื่น ๆ ร่วมกับอาหาร/เครื่องดื่มสะอาดปลอดภัย การดูแลสุขภาพช่องปาก การกอด การเล่น การนอน การอ่านเล่านิทาน เป็นผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ (Full Potential Growth) สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ ระดับเชาวน์ปัญญาดี พัฒนาการเรียนรู้และการเข้าสังคม จึงเป็นโอกาสทองในการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดีในอนาคต ทั้งนี้ ได้แบ่งกลุ่ม ในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิตออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) หญิงตั้งครรภ์ (270 วัน) 2) เด็กอายุ 0 - 6 เดือน (180 วัน)3) เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี (550) ซึ่งจะวางระบบการดูแลที่ต่อเนื่องตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดาจนถึงอายุ 2 ปี ทั้งนี้ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กแต่ละคนต้องได้รับบริการตามชุดกิจกรรมพื้นฐานที่สำคัญเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กได้รับสารอาหารครบถ้วนเพียงพอ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ จากสถานการณ์ดังกล่าวชมรมอนามัยแม่และเด็กตำบลท่าขมิ้นจึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการตามความเหมาะสมของมาตรฐานการบริการสาธารณสุขและด้านวัฒนธรรมจึงได้จัดทำ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน สานความห่วงใย สู่ลูกพัฒนาการสมวัย ร่างกายสมส่วนปี2566 ขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดคุณภาพการบริการที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนเริ่มตั้งแต่การแนะนำให้ความพร้อมของการมีบุตรในคู่สมรสที่มีอายุยังน้อย การดูแลขณะตั้งครรภ์ครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพมารดาและทารกปลอดภัยมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง เพื่อมุ่งหวังให้เด็กเจริญเติบโต มีพัฒนาการที่สมวัย เชาว์ปัญญาดี ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามมาตรฐานการให้บริการฝากครรภ์คุณภาพขององค์การอนามัยลดภาวะซีดระหว่างตั้งครรภ์เตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธ์ 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีโภชนาการสมส่วน พัฒนาการสมวัยและปราศจากฟันผุ 3. เพื่อให้แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก สามารถให้ความรู้และคำแนะนำเรื่องการฝากครรภ์คุณภาพการติดตามเยี่ยมหลังคลอดการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6เดือน และป้องกันภาวะซีด ในเด็ก 6 เดือน -5 ปีส่งเสริมการใช้ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก 4. เพื่อให้แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก สามารถให้ความรู้และคำแนะนำในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี เรื่องโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็ก 0- 5 ปีสุภาพช่องปากตลอดถึงการใช้แพทย์แผนไทยกับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดส่งต่อให้บริการทับหม้อเกลือในหญิงหลังคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก ให้ความรู้คำแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธ์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์เพื่อจ่ายยาโฟเลทและหญิงที่เริ่มตั้งครรภ์ให้มารับการฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ เพื่อส่งเสริมให้ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพและลดภาวะซีดขณะต
  2. แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ ให้รับบริการฝากครรภ์ตามนัดเพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ส่งเสริมให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
  3. แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก ติดตามให้คำแนะนำและติดตามเยี่ยมดูแลหญิงหลังคลอดและทารกหลังคลอด
  4. แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก ติดตามส่งเสริมการตรวจพัฒนาการเด็กวัดและประเมินผลภาวะโภชนาการและตรวจสุขภาพช่องปากทาเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ในกลุ่มอายุ 0 – 5 ปี ทุกวันที่ 15 ของทุกเดือน โดยหมุนเวียนกันมาเดือนละ 1 หมู่
  5. อบรมฟื้นฟูเชิงปฏิบัติการ แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก เรื่องการฝากครรภ์คุณภาพและติดตามเยี่ยมหลังคลอด โภชนาการเด็กพัฒนาการเด็ก สุขภาพช่องปากและการแพทย์แผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามมาตรฐานการให้บริการฝากครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัย
  2. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการและมีพัฒนาการสมวัย
  3. แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็กสามารถให้คำแนะนำเรื่องภาวะโภชนาการพัฒนาการสงสัยล่าช้าและการใช้แพทย์แผนไทยกับหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามมาตรฐานการให้บริการฝากครรภ์คุณภาพขององค์การอนามัยลดภาวะซีดระหว่างตั้งครรภ์เตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธ์ 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีโภชนาการสมส่วน พัฒนาการสมวัยและปราศจากฟันผุ 3. เพื่อให้แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก สามารถให้ความรู้และคำแนะนำเรื่องการฝากครรภ์คุณภาพการติดตามเยี่ยมหลังคลอดการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6เดือน และป้องกันภาวะซีด ในเด็ก 6 เดือน -5 ปีส่งเสริมการใช้ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก 4. เพื่อให้แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก สามารถให้ความรู้และคำแนะนำในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี เรื่องโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็ก 0- 5 ปีสุภาพช่องปากตลอดถึงการใช้แพทย์แผนไทยกับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดส่งต่อให้บริการทับหม้อเกลือในหญิงหลังคลอด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามมาตรฐานการให้บริการฝากครรภ์คุณภาพขององค์การอนามัยลดภาวะซีดระหว่างตั้งครรภ์เตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ในหญิงวัยเจริญพันธ์ 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีโภชนาการสมส่วน พัฒนาการสมวัยและปราศจากฟันผุ 3. เพื่อให้แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก สามารถให้ความรู้และคำแนะนำเรื่องการฝากครรภ์คุณภาพการติดตามเยี่ยมหลังคลอดการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6เดือน และป้องกันภาวะซีด ในเด็ก 6 เดือน -5 ปีส่งเสริมการใช้ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก
4. เพื่อให้แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก สามารถให้ความรู้และคำแนะนำในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี เรื่องโภชนาการเด็กและพัฒนาการเด็ก 0- 5 ปีสุภาพช่องปากตลอดถึงการใช้แพทย์แผนไทยกับหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดส่งต่อให้บริการทับหม้อเกลือในหญิงหลังคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก ให้ความรู้คำแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธ์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์เพื่อจ่ายยาโฟเลทและหญิงที่เริ่มตั้งครรภ์ให้มารับการฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ เพื่อส่งเสริมให้ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพและลดภาวะซีดขณะต (2) แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ ให้รับบริการฝากครรภ์ตามนัดเพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ส่งเสริมให้ลูกเกิดรอด  แม่ปลอดภัย (3) แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก ติดตามให้คำแนะนำและติดตามเยี่ยมดูแลหญิงหลังคลอดและทารกหลังคลอด (4) แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก ติดตามส่งเสริมการตรวจพัฒนาการเด็กวัดและประเมินผลภาวะโภชนาการและตรวจสุขภาพช่องปากทาเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ  ในกลุ่มอายุ 0 – 5 ปี  ทุกวันที่ 15 ของทุกเดือน โดยหมุนเวียนกันมาเดือนละ 1 หมู่ (5) อบรมฟื้นฟูเชิงปฏิบัติการ แกนนำตำบลนมแม่และงานอนามัยแม่และเด็ก เรื่องการฝากครรภ์คุณภาพและติดตามเยี่ยมหลังคลอด โภชนาการเด็กพัฒนาการเด็ก สุขภาพช่องปากและการแพทย์แผนไทย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน สานความห่วงใย สู่ลูกพัฒนาการสมวัย ร่างกายสมส่วน ปี 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสังคี สุขโพล้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด