กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาความปลอดภัยและปัจจัยเสี่ยงด้านอาหาร
รหัสโครงการ L340725672006
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคตำบลท่าบัว
วันที่อนุมัติ 29 มกราคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 29 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2567
งบประมาณ 31,685.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจริญญา ขำวงษ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าบัว อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 29 ม.ค. 2567 31 ส.ค. 2567 31,685.00
รวมงบประมาณ 31,685.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในเขตตำบลท่าบัวมีร้านขายของชำ จำนวน 43 ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 30 ร้าน ร้านจำหน่ายสุรา 43 ร้าน ร้านจำหน่ายบุหรี่ 38 ร้าน ร้านจำหน่ายเครื่องสำอาง 11 ร้าน และตลาดนัดจำนวน 5 แห่ง ที่จำเป็นต้องได้รับการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารที่มีจำหน่ายในร้านขายของชำ เนื่องจากพื้นที่อยู่อาศัยของประชาชนส่วนใหญ่อยู่ห่างไกลจากตลาดสด ไม่สะดวกในการเดินทางไปซื้อของในตลาด จึงจำเป็นต้องซื้อหาจากร้านขายของชำที่อยู่ใกล้บ้าน ในปีงบประมาณ 2566 จากการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารในร้านขายของชำและร้านอาหาร จำนวน 37 ร้าน และ 1 ร้าน ตามลำดับได้รับการตรวจมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 100 และผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90 เนื่องจากในบางร้านส่วนประกอบที่นำมาประกอบอาหารไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เช่น จากการทดสอบชุดตรวจสารฟอร์มาลีนในหมึกกรอบเย็นตาโฟ ให้ผลบวกดังนั้น เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายที่อยู่ในอาหารได้รับการป้องกัน ดูแล เฝ้าระวังอาหารที่ผลิตและจำหน่ายในท้องถิ่นให้มีความปลอดภัยและมีคุณภาพในการบริโภคอาหาร แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคตำบลท่าบัวและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบัวได้ดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้ที่เกี่ยวข้องในงานคุ้มครองผู้บริโภคในเขตพื้นที่ตำบลท่าบัวให้มีความรู้ความเข้าใจ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์การดำเนินการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 4 ชนิด ได้แก่ สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารกันรา สารฟอกขาวเข้าใจถึงขั้นตอนการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในกลุ่มเกษตรกร, ผู้บริโภค ตลอดจนการแปลผลการตรวจและสามารถแนะนำการปฏิบัติตนเพื่อล้างสารเคมีออกจากร่างกายได้อย่างถูกต้องทั้งนี้เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับประชาชนในการเลือกซื้ออาหารและควบคุมดูแลความปลอดภัยในอาหาร และยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีสุขภาพดี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 31,685.00 0 0.00
29 ม.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 1 เจาะเลือดตรวจหาสารพิษตกค้างในกระแสเลือด ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พร้อมให้ความรู้การใช้สมุนไพรล้างสารพิษ 0 16,075.00 -
29 ม.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 2. อบรมฟื้นฟูแกนนำคุ้มครองผู้บริโภคตำบลท่าบัว 0 15,610.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แผงลอยจำหน่ายอาหาร, ร้านชำ, ตลาดนัด, ร้านจำหน่ายสุรา, ร้านจำหน่ายบุหรี่, ร้านจำหน่ายเครื่องสำอาง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
  2. ประชาชนที่เข้าร่วมตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดมีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรล้างพิษและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ม.ค. 2567 00:00 น.