กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร


“ โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 ”

ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนารีมาศ เจ๊ะสนิ

ชื่อโครงการ โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3060-2-02 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2567 ถึง 2 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3060-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2567 - 2 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

3.หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     การขลิบ (Circumcision) คือการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นการผ่าตัดเล็กที่ทำกันมาบ่อยมาก จนเกือบถือว่าเป็นเรื่องปกติวิสัย ทั้งนี้ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในบางกลุ่มชนเป็นสิ่งปกติวิสัย เช่น ชาวยิว ที่จะขลิบหนังหุ้มปลายตั้งแต่แรกคลอด และชาวมุสลิมที่ขลิบในวัยเด็ก แต่ในประชาชนทั่วไปมีความเชื่อว่าการขลิบหนังหุ้มปลายจะทำให้สามารถดูแลทำความสะอาดได้ดีขึ้น ป้องกันการติดโรคบางฃนิด และป้องกันมะเร็ง เป็นต้น ในบทความตามวิชาการการแพทย์มีการศึกษาวิจัยในปัจจุบัน ที่ได้ศึกษาพัฒนาการของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เป็นอวัยวะที่มีอยู่ตามปกติ ปกคลุมส่วนปลายของอวัยเพศอยู่ เชื่อกันว่าทำหน้าที่ในการปกป้องส่วนปลายของอวัยวะเพศ และมีหน้าที่ในการรับรู้ความรู้สึกโดยเฉพาะ เมื่อมีการกระตุ้นทางเพศ เพราะมีใยประสาทที่มีความไวเป็นจำนวนมากในบริเวณนี้ หลังคลอดหนังหุ้มปลายจะปกปิดคลุมปลายของอวัยเพศจนมิด และจะค่อยๆ เผยออกจนสามารถมองเห็นรูเปิดของท่อปัสสาวะได้ แต่อย่างไรก็ดีเด็กอายุ 3 ขวบ จะมีอยู่ประมาณร้อยละ 10 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิด แต่ยังสามารถถ่ายปัสสาวะได้ เมื่อติดตามมาจนกระทั่งอายุ 6 ขวบ จะมีประมาณร้อยละ 8 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิดและเหลือเพียงร้อยละ 1 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิดจนถึงอายุ 16 ปี    ถึงอย่างไรก็ดีเมื่อหนังหุ้มปลายเปิดใหม่ๆ จะยังไม่สามารถเปิดได้หมด เพราะยังมีเยื่อบางๆ ติดยึดอยู่กับปลายอวัยวะเพศ การขลิบหนังหุ้มปลายองคชาติ หรือ Circumcision คือการตัดหนังบริเวณด้านหน้าขององคชาติออก จุดประสงค์เพื่อให้สามารถรูดออกทำความสะอาดบริเวณบริเวณด้านในขององคชาติได้ ซึ่งผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งสร้างสารที่เรียกว่าขี้เปียก หรือ Smagma มีลักษณะเป็นขุยชาว ๆ คล้ายขี้ไคลขึ้นมาและการที่ไม่สามารถล้างออก จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อเรื้อรัง รวมทั้งอาจก่อให้เกิดโรคร้ายอย่าวมะเร็งที่องคชาติได้ และจากการเก็บข้อมุลพบว่าผู้ป่วยมะเร็งองคชาติเกือบทั้งหมด ไม่สามารถรูดหนังออกเพื่อทำความสะอาดได้ ผู้ชายที่เป็นมะเร็งที่องคชาติปัจจุบันพบได้บ้างแต่ไม่มากนัก ส่วนใหญ่อายุมากกว่า 60 ปี ดูแลสุขภาพไม่ค่อยดี และที่สำคัญมักจะมีหนังหุ้มปลายไม่เปิด ดังนั้น ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดขลิบหนังหุ้มปลาย จึงมีประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้ชายโดยตรง ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบล ละหาร จึงได้จัดทำโครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัยเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชนชาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ชลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Circumcision) ที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์ลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (Bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ
  2. กิจกรรม ทำหัตถกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision)
  3. อบรมให้ความรู้ในการดูลแสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรคและการเกิดโรคติดเชื้อให้แก่เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง
  4. กิจกรรม ทำหัตถกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) ถูกต้องตามหลักการแพทย์ สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (Bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ
    1. เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง และประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ชลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Circumcision) ที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์ลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (Bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนได้ชลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Circumcision) ที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์ ลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (Bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ
50.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision)
ตัวชี้วัด : เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง และประชาชน ได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision)
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ชลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Circumcision) ที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์ลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (Bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง และประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (2) กิจกรรม ทำหัตถกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) (3) อบรมให้ความรู้ในการดูลแสุขภาพหลังการขลิบ การป้องกันโรคและการเกิดโรคติดเชื้อให้แก่เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง (4) กิจกรรม ทำหัตถกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3060-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนารีมาศ เจ๊ะสนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด