โครงการการแพทย์แผนไทยและส่งเสริมการใช้สมุนไพร
ชื่อโครงการ | โครงการการแพทย์แผนไทยและส่งเสริมการใช้สมุนไพร |
รหัสโครงการ | 67-L4156-01-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ |
วันที่อนุมัติ | 29 กุมภาพันธ์ 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 22,150.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางซีซ๊ะ สาเหล็ม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.535,101.576place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 23 พ.ค. 2567 | 23 พ.ค. 2567 | 22,150.00 | |||
รวมงบประมาณ | 22,150.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 130 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การแพทย์แผนไทยในปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้เป็นการแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่งแก่ผู้รับบริการ กิจกรรมการแพทย์แผนไทยได้แก่ การนวด อบ ประคบสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพรมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพการปลูกสมุนไพรเพื่อนำมาใช้เอง ซึ่งประโยชน์ของการนวดชนิดต่างๆ สามารถบำบัดอาการปวดเมื่อย ผ่อนคลาย ความเครีด ปวดหลัง ปวดเอว ๆลๆ ลดการใช้ยาเองได้ การอบสมุนไพรช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนได้ดีขึ้น บำบัดโครภูมิแพ้ ปวดเมื่อย ๆลๆ และการ ประคบสมุนไพรช่วยลดการอักเสบฟกซ้ำของกล้ามเนื้อและข้อได้นอกจากนี้การแปรรรูป สมุนไพรมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพช่วยให้ชุมชนนำสมุนไพรที่มีมากมาใช้ให้เกิดประโยชน์เช่นแชมพูสระผมจากอัญชัญ โลชั่นกันยุงจากตะไคร้ ยาม่องสมุนไพร ฯลฯ ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย อนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การนำภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างปลอดภัย ทั้งทางด้านส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลและการพื้นฐสมรรถภาพของประชาชนผู้รับบริการ จากเหตุผลดังกล่าวทางชมรมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอได้เล็งเห็นความสำคัญ และตอบสนองความต้องการของชุมชน โดยจัดทำโครงการการแพทย์แผนไทยและส่งเสริมการใช้สมุนไพร
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ กลุ่มแม่บ้านมีความรู้เรื่องการวางแผนไทยและการใข้สมุนไพรอย่างถูกวิธี ๑. ร้อยละ 80 ของผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนวดประคบด้วยสมุนไพรและศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน |
80.00 | |
2 | 2. เพื่อให้ กลุ่มแม่บ้านรู้จักดูแลสุขภาพแบบแผนไทย ๒. ร้อยละ 60 ของผู้อบรมสนใจและใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ |
60.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ก.พ. 67 | มี.ค. 67 | เม.ย. 67 | พ.ค. 67 | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | การแพทย์แผนไทยและส่งเสริมการใช้สมุนไพร(1 ก.พ. 2567-30 ก.ย. 2567) | 22,150.00 | ||||||||
รวม | 22,150.00 |
1 การแพทย์แผนไทยและส่งเสริมการใช้สมุนไพร | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 130 | 22,150.00 | 1 | 22,150.00 | 0.00 | |
16 พ.ค. 67 | การแพทย์แผนไทยและส่งเสริมการใช้สมุนไพร | 130 | 22,150.00 | ✔ | 22,150.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 130 | 22,150.00 | 1 | 22,150.00 | 0.00 |
๑. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพกายด้วยพืชสมุนไพรไทย ๒. ผู้เข้าร่วมสามารถป้องกันการใช้ยาที่มากเกินไป ควบคู่กับการนำสมุนไพรในการบำบัดรักษาโรคได้ ๓. ผู้เข้าร่วมสามารถประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2567 11:38 น.