กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย


“ สร้างเสริมสุขภาพอนามัยห่วงใยแม่ ดูแลลูก ประจำปี 2567 ”

ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอุไร ยิ้มมุด

ชื่อโครงการ สร้างเสริมสุขภาพอนามัยห่วงใยแม่ ดูแลลูก ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3348-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างเสริมสุขภาพอนามัยห่วงใยแม่ ดูแลลูก ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาพอนามัยห่วงใยแม่ ดูแลลูก ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างเสริมสุขภาพอนามัยห่วงใยแม่ ดูแลลูก ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3348-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็ก เป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่มีความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลระหว่างตั้งครรภ์ และการดูแลหลังคลอด เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน อีกทั้งนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้การดำเนินงานอนามัยแม่เด็กเป็นนโยบายสำคัญซึ่งมีเป้าหมายคือ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย การคลอดไม่ใช่แค่เกิด แต่เป็นเรื่องของ “สุขภาพ” ของชีวิตใหม่ที่กำลังเกิดขึ้น ซึ่งมีผลต่อพัฒนาการในอนาคตทั้งด้าน IQ, EQ เรื่องแทรกซ้อนทางด้านสังคมที่เกิดขึ้น เนื่องจากคนไทยยังขาดความรอบรู้เรื่องการตั้งครรภ์คุณภาพ โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ในแม่วัยใส ในวัยที่ไม่พร้อมยังคงเป็นปัญหาสำคัญนำไปสู่การตั้งครรภ์และการคลอดที่ด้อยคุณภาพ การเยี่ยมบ้านโดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข ในทุกระยะของการตั้งครรภ์จะช่วยป้องกันและลดปัญหาด้านสุขภาพซึ่งจะกลายเป็นผลกระทบต่อมารดา ทารกและครอบครัวได้ จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งชุมพล ปี ๒๕๖๔ – ๒๕๖6 เฉลี่ยการคลอดมีชีพปีละ ๓๐ – ๔๐ ราย พบว่าการมาฝากครรภ์เร็ว คืออายุครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญ ซึ่งส่งผลให้การฝากครรภ์ไม่ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ส่งผลให้การตรวจสุขภาพการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนและการบำรุงสุขภาพทารกในครรภ์ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ จากสาเหตุเช่น ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ไม่ทราบว่าตั้งครรภ์ และไม่แน่ใจว่าตนเองจะฝากครรภ์ที่ไหน ต่อมาคือมารดามีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ ส่งผลให้ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกคลอดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี เจออย่างน้อยปีละ ๑ รายหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น เช่น ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เป็นต้นปัญหาสุดท้าย คือ มารดาหลังคลอดไม่มีความรู้ด้านการวางแผนครอบครัว การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งชุมพล ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็กให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมแม่ดูแลลูก ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖7 ขึ้น เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ให้เป็นการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ และดูแลหลังคลอดทั้งมารดาและทารก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมทักษะแกนนำอสม./หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์จำนวน 50 รายให้ความรู้ด้านสุขภาวะทางการตั้งครรภ์สามารถนำโปรแกรมสุขภาพสำหรับหญิงตั้งครรภ์มาใช้ได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมออกเยี่ยมติดตามประเมินเชิงรุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารกได้อย่างถูกต้องและสามารถให้คำแนะนำเบื้องต้นประเมินภาวะผิดปกติ และส่งต่อได้ทันท่วงที
2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง ได้รับการดูแลและรักษาอย่างทันท่วงที 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตลอดการตั้งครรภ์ มีความรู้ในการดูแลตนเอง และมีช่องทางในการขอความช่วยเหลือ
และเป็นการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ 4.มารดาและทารกหลังคลอดมีความรู้ทักษะในการดูแลตนเองและลูก ลดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมทักษะแกนนำอสม./หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์จำนวน 50 รายให้ความรู้ด้านสุขภาวะทางการตั้งครรภ์สามารถนำโปรแกรมสุขภาพสำหรับหญิงตั้งครรภ์มาใช้ได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสุขภาวะทางด้านร่างกายและจิตใจของหญิงตั้งครรภ์ 2.ร้อยละ 70 ของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 3.ร้อยละ 70 ของหญิงหลังคลอดและลูก ได้รับการเยี่ยมดูแลหลังคลอด ตามเกณฑ์ จำนวน 3 ครั้ง 4.ร้อยละ 80 ของทารกหลังคลอดได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมทักษะแกนนำอสม./หญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์จำนวน 50 รายให้ความรู้ด้านสุขภาวะทางการตั้งครรภ์สามารถนำโปรแกรมสุขภาพสำหรับหญิงตั้งครรภ์มาใช้ได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมออกเยี่ยมติดตามประเมินเชิงรุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างเสริมสุขภาพอนามัยห่วงใยแม่ ดูแลลูก ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3348-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุไร ยิ้มมุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด