กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลแว้ง ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางนอรีมา เลาะมาอะ , นางนาตือเราะห์ รายะ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลแว้ง

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 มิถุนายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลแว้ง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลแว้ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลแว้ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดในสตรีไทย ปัจจุบันสถิติการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้นในโรคมะเร็งเต้านม เสียชีวิต 17.2 ต่อประชากร 100,000 คน ในโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต 19.5 ต่อประชากร 100,000 คน ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจ เกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญ ของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วย และอัตราการตายจากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกลดลง
จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมปี2558 ของตำบลแว้ง พบว่าสตรีอายุ 30-70 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจเต้านมร้อยละ 87.24และสตรีอายุ30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 18.87 ส่งผลให้มีการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองแบบต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นที่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการรวมเจ้าหน้าที่ในต่างพื้นที่เข้ามาทำงานร่วมกันการสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มเป้าหมายการส่งเสริมความรู้แก่กลุ่มแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย ทำให้ผลการตรวจคัดกรองเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการพัฒนารูปแบบการตรวจคัดกรองนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้รูปแบบการตรวจคัดกรองที่เหมาะสมที่สุดต่อไปโรงพยาบาลแว้ง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เชิงรุกในชุมชนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเป้าหมาย
  2. 2.เพื่อสนับสนุนให้ แกนนำและสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและมีทักษะในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถนำไปเผยแพร่ในชุมชนได้
  3. 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30 - 60 ปี ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30 -60 ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและพบภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการรักษาโดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคน 3.อสม.และสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 70 ปีมีความรู้ 4.ลดอัตราป่วย/ตาย โรคมะเร็งปากมดลูก ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลแว้งและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพกรือซอ ได้จัดดำเนินงานโครงการอบรมให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลแว้งระหว่างวันที่ 12  มกราคม  2560ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรมจำนวน 150 คน และได้มีการแจกอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าอบรม ได้แก่ ปากกา สมุด กระเป๋า โดยเจ้าหน้าที่ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับอาการของมะเร็งปากมดลูก ซึ่งสัญญาณของโรคมักจะเกิดขึ้นเมื่อมะเร็งเริ่มเข้าสู่ระยะลุกลามแล้ว โดยจะมีอาการ เช่น มีเลือดออกจากช่องคลอดอย่างผิดปกติ มีเลือดออกเวลามีเพศสัมพันธ์ (ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้านี้) ตกขาวมีเลือดหรือหนองปน ช่องคลอดมีกลิ่นผิดปกติ ปวดในช่องคลอดขณะมีเพศสัมพันธ์ และยังมีอาการอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นหากมีการลุกลามของเซลล์มะเร็งไปยังเนื้อเยื่ออวัยวะอื่น ๆ เช่น ไม่อยากอาหาร น้ำหนักลด ปัสสาวะมีเลือดปน ปวดกระดูกบริเวณต่าง ๆ เป็นต้น โดยหากพบอาการผิดปกติที่น่าสงสัยดังกล่าวข้างต้น ผู้ป่วยต้องรีบไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจรักษาทันทีการวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูกตรวจภายใน และตรวจคัดกรองหาความผิดปกติของเซลล์ที่ปากมดลูกด้วยแป๊บ เสมียร์ (Pap smear) อย่างน้อย 5 ปี/ครั้ง ซึ่งเป็นการตรวจความสมบูรณ์ของเซลล์บริเวณปากมดลูก ว่ามีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่ผิดปกติหรือไม่ ในบางครั้งผลตรวจที่พบความผิดปกติของเซลล์นั้น ก็อาจไม่ใช่เซลล์มะเร็งเสมอไป ส่วนการรักษา ได้แก่ การผ่าตัดการรักษาด้วยการให้รังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดเป็นต้น การให้ความรู้สำหรับโรคมะเร็งเต้านมวิธีการการตรวจเต้านมสตรีเพื่อตรวจหาความผิดปกติที่ง่าย และสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง คือ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง เดือนละ 1 ครั้ง สำหรับสตรีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปโดยอาการที่เกิดจากมะเร็งเต้านมส่วนใหญ่จะพบว่ามีก้อนที่เต้านม มีการดึงรั้งของผิวหนัง หรือมีลักษณะผิดปกติที่ผิวหนัง เช่น มีเส้นเลือดเพิ่มขึ้น หรือมีผิวหนังบวม นอกจากนี้ยังพบมะเร็งที่ส่วนของท่อน้ำนม ซึ่งอาจจะพบว่ามีอาการหัวนมบุ๋มหรือยุบลง หรือมีน้ำหรือเลือดออกจากหัวนม แต่อย่างไรก็ตามอาการที่พบดังกล่าวอาจจะเป็นอาการจากโรคอื่นๆ ได้ด้วย ซึ่งควรจะมาพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเป้าหมาย
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อสนับสนุนให้ แกนนำและสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและมีทักษะในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถนำไปเผยแพร่ในชุมชนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเป้าหมาย (2) 2.เพื่อสนับสนุนให้ แกนนำและสตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและมีทักษะในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และสามารถนำไปเผยแพร่ในชุมชนได้ (3)  3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลแว้ง จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนอรีมา เลาะมาอะ , นางนาตือเราะห์ รายะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด