กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง


“ โครงการควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลทะนง ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นายสมคิด ปั้นกันอินทร์

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลทะนง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลทะนง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลทะนง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลทะนง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อ หมายถึง โรคที่เกิดจากเชื้อโรค หรือพิษของเชื้อโรค ซึ่งสามารถแพร่ได้ทั้งทางตรงหรือทางอ้อมมาสู่คน โรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่ทะนง ตั้งแต่ปี 2563 จนถึงปัจจุบันมี 2 โรคที่สำคัญคือโรคไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 [ Coronavirus Disease 2019 (COVID 19)] และโรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 [ Coronavirus Disease 2019 (COVID 19)] ในพื้นที่ตำบลทะนงในปี 2565 พบผู้ป่วยสะสมอยู่ที่ 102 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,991.41 ต่อแสนประชากร แต่ยังไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคโควิด สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ตำบลทะนง พบว่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 – 2565 มีจำนวนผู้ป่วย 12,57,2,0,1 และ 0 ราย ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วย 155.48,738.82,26.18,0,19.51 และ 0 ต่อแสนประชากรตามลำดับ จากสถิติการระบาดพบว่าตำบลทะนงมีการระบาดทุก 3 ปี ซึ่งในปี 2566 เป็นปีที่คาดการณ์ว่าอาจจะมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้น จึงต้องมีการเฝ้าระวังอย่างเข้มข้นในพื้นที่ การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคติดต่อให้ประสบผลสำเร็จ และเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่และร่วมมือกันในการควบคุมป้องกันโรคที่ยั่งยืน คณะกรรมการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลทะนงได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆ ที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลทะนง ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนเห็นความสำคัญของโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆ ที่เป็นปัญหาในพื้นที่ เพื่อให้ ประชาชน อสม. และผู้นำชุมชน มีความรู้เรื่องการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการ SRRT ระดับตำบล
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. ประชาชน ผู้นำชุมชนเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่
  3. กิจกรรมที่ 3 ออกสำรวจลูกน้ำและส่งผลการสำรวจ ทุกเดือน
  4. กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมพร้อมให้ความรู้ในหมู่บ้านต้นแบบเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม การคัดแยกขยะ การนำขยะมาแปรรูป และการทำถังหมักรักษ์โลก
  5. กิจกรรมที่ 6 รณรงค์/ให้ความรู้เรื่องการกำจัดขยะและแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/การใช้สมุนไพรกำจัดลูกน้ำยุงลายผ่านหอกระจายข่าว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คณะกรรมการ SRRT ในระดับตำบล มีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานด้านการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง 2 แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน ประชาชนมีความรู้เรื่องการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 3 กิจกรรมการสุ่มตรวจลูกน้ำ ทำให้ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักถึงการให้ความสำคัญในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายพาหะของโรคไข้เลือดออก 4 เกิดหมู่บ้านต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการ SRRT ระดับตำบล

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการดำเนินการประชุมทั้งหมด 2  ครั้ง  โดยครั้งที่  1  เป็นการประชุมทบทวนเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและปรับปรุงคณะกรรมการพร้อมชี้แจงแนวทางการดำเนินกิจกรรมในปีงบประมาณ 2566
ครั้งที่ 2  เป็นการประชุมติดตามเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมในปีงบประมาณ 2566 และทบทวนความรู้เกี่ยวกับโรคระบาด  พร้อมทั้งดำเนินการถอดบทเรียนและเตรียมจัดทำแผนงานโครงการปีงบประมาณ 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการ SRRT  ระดับตำบลมีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคได้อย่างต่อเนื่องและทันเหตุการณ์

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. ประชาชน ผู้นำชุมชนเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินกิจกรรมอบรม  อสม. ผู้นำชุมชน  โดยสอนเกี่ยวกับวงจรชีวิตยุงลาย  การเกิดไข้เลือดออก  กาารระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่  กระบวนการสุ่มตรวจลูกน่ำยุงลาย  มาตรการแนวมทางในการสร้างความร่วมมือในชุมชนเกี่ยวกับการปเองกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและเพิ่มความรู้เกี่ยวกับโรคระบาดอื่นๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลทะนง  เช่น  โรคไข้หวัดใหญ่  โรคมือเท้าปาก สุกใส  และโรคโควิด 19

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำ  อสม.ผู้นำชุมชน  มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ ที่เป็นปัญหาในพื้นที่

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 3 ออกสำรวจลูกน้ำและส่งผลการสำรวจ ทุกเดือน

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินกิจกรรม  การออกสำรวจลูกน้ำยุงลายโดย อสม.  ตามเขตรับผิดชอบของตนเอง  และส่งรายงานให้ รพ.สต.ทะนงทุกเดือน  เพื่อเป็นการติดตามและเฝ้าระวังระดับของลูกน้ำยุงลายในเขตพื้นที่ตำบลทะนง  ซึ่งดำเนินกิจกรรมทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก  จำนวน 2 ราย (ไม่เกิน gen 2)

 

0 0

4. กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมพร้อมให้ความรู้ในหมู่บ้านต้นแบบเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม การคัดแยกขยะ การนำขยะมาแปรรูป และการทำถังหมักรักษ์โลก

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินกิจกรรมการประชาคมชาวบ้านให้ทราบถึงปัญหาของสภาพสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้านพร้อมช่วยกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา  อีกทั้งยังให้ความรู้ในเรื่องของการคัดแยกขยะประเภทต่างๆ  มีการแปรรูปขยะหรือของเหลือใช้ให้นำกลับมาใช้ใหม่  และมีการลงสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายพร้อมทั้งให้ความรู้กับประชาชนในการควบคุมป้องกันโรค  ซึ่งดำเนินกิจกรรม  2  ครั้ง  ในแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมครั้งละ 80 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดหมู่บ้านต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน  คือ  บ้านทะนง  หมู่ที่ 10 ตำบลทะนง

 

0 0

5. กิจกรรมที่ 6 รณรงค์/ให้ความรู้เรื่องการกำจัดขยะและแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย/การใช้สมุนไพรกำจัดลูกน้ำยุงลายผ่านหอกระจายข่าว

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำหนังสือประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการกำจัดขยะและแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย  และการใช้สมุนไพรกำจัดลูกน้ำยุงลาย  โดยขอความร่วมมือผู้นำหมู่บ้านประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชานมีความรู้เรื่องการกำจัดขยะและแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย  และการใช้สมุนไพรกำจัดลูกน้ำยุงลาย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการ SRRT ระดับตำบล (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. ประชาชน ผู้นำชุมชนเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ (3) กิจกรรมที่ 3 ออกสำรวจลูกน้ำและส่งผลการสำรวจ ทุกเดือน (4) กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีประชาคมพร้อมให้ความรู้ในหมู่บ้านต้นแบบเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม การคัดแยกขยะ การนำขยะมาแปรรูป และการทำถังหมักรักษ์โลก (5) กิจกรรมที่ 6 รณรงค์/ให้ความรู้เรื่องการกำจัดขยะและแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/การใช้สมุนไพรกำจัดลูกน้ำยุงลายผ่านหอกระจายข่าว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลทะนง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมคิด ปั้นกันอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด