โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลราซัค กุลตามา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
และเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสีย ทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลัก ที่ทำให้เกิดโรคคือ กรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมี อายุมากขึ้น ขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มต้นตั้งแต่ในครรภ์แม่ แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ จากผลการวิจัยหลายเรื่องชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผล โดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ สามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รวมไปถึงป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้
จากการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปิยามุมัง ปีงบประมาณ ๒๕๖7 ในกลุ่มประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป พบข้อมูลดังนี้ โรคเบาหวาน มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรองโรคเบาหวาน 1,257 ราย คัดกรองได้ทั้งหมด 1,161 ราย พบเป็นกลุ่มปกติ 910 ราย คิดเป็นร้อยละ 78.38 กลุ่มเสี่ยง 236 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.33 และพบกลุ่มสงสัยป่วย 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.29 ส่วนโรคความดันโลหิตสูง มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรอง 1,052 ราย ทำการคัดกรองได้ทั้งหมด 995 ราย พบเป็นกลุ่มปกติ 746 ราย คิดเป็นร้อยละ 74.97 กลุ่มเสี่ยง 156 ราย คิดเป็นร้อยละ 15.68 กลุ่มสงสัยป่วย 86 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.64 และพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.7 จากข้อมูลดังกล่าว ในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น แนวทางแก้ไข จะต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยตั้งแต่การคัดกรอง แล้วมาจัดกลุ่ม ดี เสี่ยง สงสัยป่วยและป่วย ในกลุ่มป่วย ต้องดำเนินการให้การรักษา จะต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอ จึงต้องบูรณาการให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมัง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ ๒๕๖8 ขึ้น เพื่อคัดกรองและคันหากลุ่มเสี่ยงในชุมชน และเสริมสร้างความรู้กับประชาชนให้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงสุขภาพจิตดี เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตที่จะเกิดขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อฟื้นฟูทักษะการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
- . กิจกรรมตรวจคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 3 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม)
39
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อสม.มีความรู้และความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและการคัดกรองโรค ร้อยละ 100
2. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อย่างน้อย ร้อยละ 70
3.ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
4. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต ได้รับการติดตามเยี่ยมและประเมินพฤติกรรม สุขภาพอย่างต่อเนื่องและส่งพบแพทย์เพื่อได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
289
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม)
39
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อฟื้นฟูทักษะการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (2) . กิจกรรมตรวจคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (4) กิจกรรมติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 3 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลราซัค กุลตามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลราซัค กุลตามา
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
และเหตุผล โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสีย ทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลัก ที่ทำให้เกิดโรคคือ กรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมี อายุมากขึ้น ขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มต้นตั้งแต่ในครรภ์แม่ แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ จากผลการวิจัยหลายเรื่องชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผล โดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ สามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รวมไปถึงป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ จากการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปิยามุมัง ปีงบประมาณ ๒๕๖7 ในกลุ่มประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป พบข้อมูลดังนี้ โรคเบาหวาน มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรองโรคเบาหวาน 1,257 ราย คัดกรองได้ทั้งหมด 1,161 ราย พบเป็นกลุ่มปกติ 910 ราย คิดเป็นร้อยละ 78.38 กลุ่มเสี่ยง 236 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.33 และพบกลุ่มสงสัยป่วย 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.29 ส่วนโรคความดันโลหิตสูง มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรอง 1,052 ราย ทำการคัดกรองได้ทั้งหมด 995 ราย พบเป็นกลุ่มปกติ 746 ราย คิดเป็นร้อยละ 74.97 กลุ่มเสี่ยง 156 ราย คิดเป็นร้อยละ 15.68 กลุ่มสงสัยป่วย 86 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.64 และพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.7 จากข้อมูลดังกล่าว ในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น แนวทางแก้ไข จะต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยตั้งแต่การคัดกรอง แล้วมาจัดกลุ่ม ดี เสี่ยง สงสัยป่วยและป่วย ในกลุ่มป่วย ต้องดำเนินการให้การรักษา จะต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอ จึงต้องบูรณาการให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมัง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ ๒๕๖8 ขึ้น เพื่อคัดกรองและคันหากลุ่มเสี่ยงในชุมชน และเสริมสร้างความรู้กับประชาชนให้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงสุขภาพจิตดี เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตที่จะเกิดขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อฟื้นฟูทักษะการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
- . กิจกรรมตรวจคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 3 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 250 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม) | 39 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อสม.มีความรู้และความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและการคัดกรองโรค ร้อยละ 100
2. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อย่างน้อย ร้อยละ 70
3.ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
4. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต ได้รับการติดตามเยี่ยมและประเมินพฤติกรรม สุขภาพอย่างต่อเนื่องและส่งพบแพทย์เพื่อได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 289 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 250 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม) | 39 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อฟื้นฟูทักษะการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (2) . กิจกรรมตรวจคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (4) กิจกรรมติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 3 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองเร็ว ปรับเปลี่ยนตัวทัน ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลราซัค กุลตามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......