กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง


“ โครงการคุมน้ำตาลหั่นเบาหวาน ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางสโน คมขำ

ชื่อโครงการ โครงการคุมน้ำตาลหั่นเบาหวาน ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2566 ถึง 28 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุมน้ำตาลหั่นเบาหวาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุมน้ำตาลหั่นเบาหวาน ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุมน้ำตาลหั่นเบาหวาน ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2566 - 28 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,935.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม จากการรายงานข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจากโรค NCDs มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จาก 38 ล้านคน ประเทศไทยมีภาระจากกลุ่มโรค NCDs ในสัดส่วนที่สูงกว่านานาชาติ โดยสาเหตุของการเสียชีวิตถึง 300,000 กว่ารายในปี พ.ศ. 2552 หรือ คิดเป็น 73% ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยมีสถิติการเสียชีวิตและผลกระทบจาก กลุ่มโรค NCDs มากกว่าทั้งโลกสำหรับโรคในกลุ่ม NCDs ที่มีอัตราผู้ป่วยและเสียชีวิตสูงสุด7 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง และโรคอ้วนลงพุง เนื่องด้วยผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ต้องควบคุมระดับของโรคและอยู่ในความดูแลของแพทย์ไม่สามารถตรวจสอบความเป็นไปของโรคด้วยตัวเองได้คือ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จากสถานการณ์โรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทะนง หมู่ที่ 1 พบว่าจากข้อมูลสถานะสุขภาพโรคเรื้องรังได้แก่ โรคเบาหวาน ภายในหมู่ 1 พบว่ามีร้อยละการป่วยในปี 2561 2562 2563 2564 2565 ได้แก่ 8.04 9.29 9.74 9.55 9.81 ตามลำดับ โรคความดันโลหิตสูง ภายในหมู่ 1พบว่ามีร้อยละการป่วยในปี 2561 2562 2563 2564 2565ได้แก่ 20.86 22.64 24.36 24.01 25.29 ตามลำดับ จากการทำประชาคมเพื่อหาสาเหตุของปัญหาและการใช้วิธีการทางสถิติ พบว่าสาเหตุของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง คือพฤติกรรมการรับประทานอาหารประกอบด้วย ความรู้ ความเครียด ซึ่งสาเหตุดังกล่าวนอกจากจะทำให้เกิด 3 โรคข้างต้นแล้วยังสามารถทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นที่ร้ายแรงได้ เช่น โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจโรคไต โรคทางตา ดังนั้นชมรม อสม.ม.1บ้านทะนง จึงได้จัดทำโครงการคุมความดัน หั่นเบาหวานโดยมีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและการจัดการความเครียดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถอยู่กับโรคได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและการจัดการความเครียด
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ด้วยตนเอง 2. กลุ่มเป้าหมายสามารถเผยแพร่ความรู้ วิธีการในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและการจัดการความเครียด

วันที่ 10 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้ประกอบด้วย  ธงโภชนาการ  การอ่านฉลากโภชนาการ  การฝึกปฏิบัติทักษะเลือกบริโภคอาหารว่าควรเลือกบริโภคอาหารชนิดใด  การฝึกจัดการความเครียด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดหรือระดับความดันโลหิตได้ด้วยตนเอง

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวาน

วันที่ 10 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการร่วมกันหาแนวทางในการรับประทานอาหาร  การจัดการความเครียด  ให้ผู้เข้าร่วมโครงการตัดสินใจเลือกแนวทางการปรับเปลี่ยนและลงมือปฏิบัติ  โดยลงพื้นที่หากลุ่มเป้าหมายจำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1  เป็นการลงพื้นที่หากลุ่มเป้าหมายเบาหวาน จำนวน 30 คน  เพื่อตั้งเป้าหมายการรับประทานอาหารว่าต้องการจะปรับปรุงพฤติกรรมอย่างไร ครั้งที่ 2  เป็นการลงพื้นที่หลังจากการตั้งเป้าหมาย 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ความรู้ในการรับประทานอาหาร แบบสอบถามความเครียดและตรวจวัดค่าระดับน้ำตาลในเลือด จากนั้นรวบรวมข้อมูล  ประมวลผล  เริ่มกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและการจัดการความเครียด และกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ครั้งที่ 3  เป็นการลงพื้นที่หลังจากการให้ความรู้ 2  สัปดาห์ที่ผ่านมา เพื่อติดตามผลของกลุ่มเป้าหมายโดยให้กลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ความรู้ในการรับประทานอาหาร แบบสอบถามความเครียดและตรวจวัดค่าระดับน้ำตาลในเลือด ครั้งที่ 4  เป็นการลงพื้นที่หลังจากการติดตามผลครั้งแรก 2  สัปดาห์ที่ผ่านมา เพื่อติดตามผลของกลุ่มเป้าหมายโดยให้กลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ความรู้ในการรับประทานอาหาร แบบสอบถามความเครียดและตรวจวัดค่าระดับน้ำตาลในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการลงพื้นที่ทำแบบสอบถามก่อนเข้าร่วมโครงการแและหลังเข้าร่วมโครงการพบว่าประชาชนมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้ดีเพิ่มขึ้น  จำนวน 18 คน  คิดเป็นร้อยละ 60

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความตระหนักในโรคเบาหวานที่กำลังเผชิญอยู่ และมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารได้ดีขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและการจัดการความเครียด (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุมน้ำตาลหั่นเบาหวาน ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสโน คมขำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด