กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการพลังอสม.พลังชุมชน รู้ตน ลดเลี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจำนวล แป้นเนียม

ชื่อโครงการ โครงการพลังอสม.พลังชุมชน รู้ตน ลดเลี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพลังอสม.พลังชุมชน รู้ตน ลดเลี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพลังอสม.พลังชุมชน รู้ตน ลดเลี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพลังอสม.พลังชุมชน รู้ตน ลดเลี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อโดยเฉพาะภาวะความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและเร่งด่วนของประเทศ ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงถ้าไม่ได้รับการดูแลหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมอาจพัฒนาเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ในอนาคต อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ทำให้เป็นภาระต่อสังคมเศรษฐกิจและครอบครัวที่ต้องทำหน้าที่ดูแลส่วนปัจจัยด้านอื่นๆที่อาจมีความเกี่ยวเนื่องกันได้ก็คือพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมซึ่งพบว่าคนที่มีบิดา มารดามีภาวะความดันโลหิตสูงและภาวะเบาหวานก็มักจะมีโอกาสเสี่ยงมาก ส่วนในเรื่องปัจจัยแวดล้อมเช่น มีน้ำหนักตัวมาก สูบบุหรี่จัดดื่มสุราจัด มีระดับไขมันในเลือดสูง และมีความเครียดก็มีผลทำให้ภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวาน คนที่มีภาวะความดันโลหิตสูง และเบาหวานส่วนใหญ่มักไม่ค่อยรู้ตัว ซึ่งโอกาสจะเกิดโรคแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูง และเบาหวานก็มีมากตามไปด้วย โดยทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อหัวใจ ไต ตา และสมองและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ ดังนั้นจึงเปรียบภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวานว่าเป็น "ภัยเงียบ" สถานการณ์โรคเบาหวานจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยจากการพิจารณาสถานการณ์ความซุกของผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยและขึ้นทะเบียนจากแพทย์ว่าเป็นโรคเบาหวาน ในสถานบริการภาครัฐ จากแหล่งข้อมูล 43 แฟ้ม พบว่าค่าความซุกในปี พ.ศ. 2565 เท่ากับร้อยละ 4.69 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ต่อเนื่องกระทั่งปี พ.ศ.2566 มีความซุกเท่ากับร้อยละ 7.04 อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาอัตรการเพิ่มขึ้นในแต่ละปี พบว่าอัตรการเพิ่มขึ้นมีแนวโน้มที่ช้าลง ซึ่งสอดคล้องกับอัตราการขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ที่มีแนวโน้มลดลงกระทั่งปี พ.ศ.2563 มีอัตรผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่เท่ากับร้อยละ 0.45 สถานการณ์ประเทศไทยจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยจากการพิจารณาสถานการณ์ความซุกของผู้ที่ได้รับการวินิจฉัย และขึันทะเบียนจากแพทย์ว่ามีภาวะความดันโลหิตสูงในสถานบริการ ภาครัฐ จากแหล่งข้อมูล 43แฟ้ม พบว่าค่าความซุกในปี พ.ศ.2565 เท่ากับร้อยละ 8.66 และมีแนวโน้มเพิ่มขี้นต่อเนื่อง ในอัตราที่น้อยลงกระทั่งปี พ.ศ.2566 มีความซุกเท่ากับร้อยละ 13.69 ซึ่งสอดคล้องกับอัตราการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ.2565 และลดลงในปี พ.ศ.2566 มีอัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ เท่ากับร้อยละ 0.89 เมื่อพิจารณาการกระจายตามเขตบริการ สุขภาพ จากข้อมูลฐานบริการ 4.3 แฟ้ม พบว่าความซุกของความดันโลหิตสูงสุดที่เขตบริการสุขภาพที่1,2และ3 ปัญหาโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ยังคงเป็นปัญหาที่คุกคามสุขภาพของประชาชนไทยถึงแม้ว่า แนวโน้มของความซุกจะไม่เพิ่มขึ้นมาก แต่พบว่าผู้ป่วยทั้งเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มที่จะมีภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดสมองภาวะแทรกซ้อนหลอดดเลือดดหัวใจ และภาวะแทรกซ้อนทางไต โดยเฉพาะภาวะแทรกซ้อน ทางไตในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่าตัวในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา นอกเหนือจากสาเหตุจากระยะเวลาในการเจ็บป่วย ที่นานขี้นแล้ว การเข้าถึงบริการ และคุณภาพการบริการก็เป็นปัจจัยสำคัญต่อผลลัพธ์ทางสุขภาพ จากการวินิจฉัยที่ถูกต้องทันเวลา และให้การรักษาส่งต่อที่เหมาะสม และปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น จากข้อมูลในระบบปฐมภูมิ พบว่ามีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดี ในปี พ.ศ.2564,2565 และ 2566 คิดเป็นร้อยละ19.57,47.83และ45.76 ตามลำดับ และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันได้ดี ในปี พ.ศ.2564,2565และ2566 คิดเป็นร้อยละ 38.28,60.94 และ 51.18 ตามลำดับ ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมโรคให้อยู่ในระดับปกติได้ จากการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงประจำปี 2568 พบกลุ่มสงสัยผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 5 คน และกลุ่มสงสัยผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 32 คน ซึ่งเป็นปัญหาในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อ ดังนั้น ชมรม อสม.หมู่ที่ 4 บ้านท่ามะเดื่อ ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคเรื้อรัง โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและภาคีเครือข่ายเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคเรื้อรัง โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนและภาคีเครือข่ายเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ลดอัตรป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหว่นในประชาชนกลุ่มเสี่ยง และส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติและลดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านท่ามะเดื่อ พัฒนาศักยภาพแกนนำในการดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถดูแลตนเองไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 3.เพื่อให้กลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต/ระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ 4.เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านท่ามะเดื่อ ได้พัฒนาศักยภาพแกนนำในการดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถดูแลตนเองไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 3.เพื่อให้กลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถควบคุมระดับควาามดันโลหิต/ระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ 4.เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านท่ามะเดื่อ พัฒนาศักยภาพแกนนำในการดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถดูแลตนเองไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 3.เพื่อให้กลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต/ระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ 4.เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านท่ามะเดื่อ พัฒนาศักยภาพแกนนำในการดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถดูแลตนเองไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 3.เพื่อให้กลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต/ระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ 4.เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพลังอสม.พลังชุมชน รู้ตน ลดเลี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจำนวล แป้นเนียม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด