กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรค ตำบลทำนบ ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรวรรณ คงแก้ว นักวิชาการสาธารณสุข

ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรค ตำบลทำนบ

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5264-1-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรค ตำบลทำนบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรค ตำบลทำนบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรค ตำบลทำนบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5264-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้ชีวิตประจำวันของเราในปัจจุบันมีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้น ทำให้เรามีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง รวมทั้งการรับประทานอาหารในปริมาณที่มากเกินความต้องการของร่างกาย รับประทานอาหารรสหวานจัด เค็มจัด และอาหารที่มีไขมันสูง สิ่งเหล่านี้จะทำให้เกิดภาวะอ้วน ก่อให้เกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง ซึงอาจจะทำให้เส้นเลือดตีบหรือแตกได้ นอกจากนี้การสูบบุหรี่เป็นประจำ ก็จะทำให้เกิดโรคถุงลมโป่งพอง รวมทั้งโรคมะเร็งต่างๆ ได้ด้วยเช่นกัน เมื่อประกอบกับความเครียด และการพักผ่อนไม่เพียงพอรวมกัน และสะสมเรื้อรังไปนานๆ ก็นำไปสู่การเกิดกลุ่มโรค NCDs ขึ้นได้ หรือแม้แต่โรคอ้วนลงพุง ล้วนเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ การออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสม การไม่สามารถจัดการอารมณ์ของตนเองต่อการสูบบุหรี่และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพดังกล่าว หากได้มีการคัดกรอง การตรวจสุขภาพอย่างถูกต้อง และต่อเนื่อง เพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมถูกต้องตามหลัก 3 อ 2 ส คือ การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์ที่ถูกต้องเหมาะสม รวมถึงการลด ละ เลิกสูบบหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ก็จะสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าวได้ จากการสำรวจระหว่างปี พ.ศ.2557 - 2563 อายุเฉลี่ยเริ่มสูบบุหรี่ของคนไทยลดลงจาก 18.5 ปี เป็น 15.6 ปี ขณะที่อายุเริ่มดื่มสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีแนวโน้มดีขึ้นเล็กน้อย โดยสูงขึ้นจากอายุ 20.2 ปี เป็น 20.8 ปี และคนไทยมีปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ต่อนักดื่มสูง 23.8 ลิตร สำหรับพฤติกรรมการบริโภคที่ยังเป็นปัญหาสำหรับคนไทยที่อายุ 15 ปีขึ้นไป มีเพียว 1 ใน 4 ที่บริโภคผักและผลไม้อย่างเพียงพอ คือ วันละ 400 กรัม ตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก ส่วนกิจกรรมเคลื่อนไหวและการออกกำลังกาย โดยเฉลี่ยใช้เวลากับกิจกรรมเคลื่อนไหวน้อย เช่น การนั่ง ๆ นอน ๆ ถึงวันละ 13 ชั่วโมงครึ่ง ในขณะที่มีกิจกรรมทางกายรวมทุกประเภทเพียง 2 ชั่วโมงต่อวัน กลุ่มที่มีกิจกรรมทางกายน้อย คือ กลุ่มผู้หญิงที่ที่มีเพียงร้อยละ 62.4 นอกจากนี้การออกกำลังกาย และการเล่นกีฬาของทุกกลุ่มอายุยังอยู่ในระดับต่ำ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวโดยใช้การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้ดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลรักษาตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุขจึงได้มีแนวคิดให้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถเจาะเลือดฝอยจากปลายนิ้ว และตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดให้แก่ประชาชนที่รับผิดชอบตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้การควบคุมดูแล และการควบคุมคุณภาพของเจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม โดยมีผลใช้ทั่วประเทศตั้งแต่ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 เป็นต้นไป ในพื้นที่ตำบลทำนบ มีประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,879 คน โดยเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 614 คน และกลุ่มเสี่ยง จำนวน 1,394 คน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ จึงได้จัดโครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรค ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี 2567 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และประชาชนทั่วไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ ความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วย 3 อ 2 ส.
  4. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติอต่อเรื้อรังในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านพร้าว ต.ทำนบ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์
  2. สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  3. จัดทำโครงการเสนอ และขอเสนอสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทำนบ
  4. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่จัดกิจกรรม
  5. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  6. จัดกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมแจ้งผลการคัดกรองให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
  7. สรุปจัดทะเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และส่งต่อกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงเข้าสู่ระบบส่งต่อของ รพ. สิงหนคร
  8. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มที่เสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  9. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กับกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  10. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในพื้นที่ได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  2. ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชน ในการดูแลสุขภาพประชาชนร่วมกัน
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
  4. อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในพื้นที่ได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
70.00 80.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง
ตัวชี้วัด : ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชน ในการดูแลสุขภาพประชาชนร่วมกัน
70.00 80.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วย 3 อ 2 ส.
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
70.00 80.00

 

4 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติอต่อเรื้อรังในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
70.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วย 3 อ 2 ส. (4) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติอต่อเรื้อรังในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านพร้าว ต.ทำนบ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์ (2) สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (3) จัดทำโครงการเสนอ และขอเสนอสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทำนบ (4) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่จัดกิจกรรม (5) ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (6) จัดกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมแจ้งผลการคัดกรองให้กลุ่มเป้าหมายทราบ (7) สรุปจัดทะเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และส่งต่อกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงเข้าสู่ระบบส่งต่อของ รพ. สิงหนคร (8) ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มที่เสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (9) จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กับกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (10) ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดพุง ลดโรค ตำบลทำนบ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5264-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรวรรณ คงแก้ว นักวิชาการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด