โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอมล๊ะห์ แวเตะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4131-01-13 เลขที่ข้อตกลง 27/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4131-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น โรคมะเร็งที่พบมาก ที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งลำไส้และไส้ตรง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ตามลำดับในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดอายุระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปได้ยากต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง การป้องกัน และควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกต้องมีการค้นหาโดยการตรวจหา
เซลล์มะเร็งตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและ จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ ในส่วนของโรคมะเร็งลำไส้ และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับสามในเพศชาย และเป็นอันดับสี่ในเพศ หญิง ในปี พ.ศ. 2554 พบผู้ป่วยใหม่ปีละประมาณ 10,624 ราย โดยในแต่ละปีจะมีผู้เสียชีวิตจากมะเร็ง ลำไส้ ใหญ่และไส้ตรงประมาณ 3,000 ราย โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่สามารถ ทำการตรวจหาได้ ตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก ซึ่งสามารถทำการรักษาให้หายได้และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษามะเร็งในระยะ ลูกลาม นอกจากนี้ยังสามารถตรวจพบในระยะที่ยังไม่เป็นมะเร็งคือ Adenomas ซึ่งเมื่อทำการรักษาโดยการ ตัดทิ้งแล้วสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ สถาบันมะเร็งแห่งชาติจึงเสนอโครงการตรวจคัดกรอง มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงให้กับประชาชนที่มีอายุ 50-70 ปีขึ้นไป โดยการตรวจเม็ดเลือดแดงแฝงในอุจจาระ ด้วยวิธี Fecal Immunochemical Tast (FIT) ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเนื่องจากขั้นตอนในการเตรียม ตัวไม่ยุ่งยากซับซอน และสามารถทำการตรวจคัดกรองได้ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เนื่องจาากโรคมะเร็งเป็นโรคที่เป็นแล้วจะทำให้เกิดอาการป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ซึ่งผู้ป่วยได้รับการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่มักจะได้รับการรักษาเมื่ออยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้ผลการรักษาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรแต่ในขณะเดียวกันโรคมะเร็งเป็นโรคหนึ่งที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ถ้าหากได้รับการตรวจวินิจฉัยและมาพบแพทย์ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ปัจจุบันสตรีและบุรุษจำนวนไม่น้อยที่ยังขาดความรู้ในเรื่องโรคมะเร็ง
จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี ในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2567 สตรีอายุ 30-60 ปี จำนวนทั้งหมด 1,120 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธีการ pap smear จำนวน 303 คน คิดเป็นร้อยละ 27.05 และสตรีอายุ 30-70 ปี จำนวน 1,456 คน ได้รับการตรวจคัดกรองเต้านมด้วยเจ้าหน้าที่่ และด้วยตนเอง จำนวน 1,142 คน คิดเป็นร้อยละ 78.43 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร้งลำไส้และไส้ตรง โดยวิธี Fit test จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลอัยเยอร์วงได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ประชาชน ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชน แลการลดภาระค่าใช้จ่ายที่ต้องดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง จึงได้จัดทำโครงการ คัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกขึ้นเปฌนการสนองตามนโยบายหลักประกันสุขภาพส่งเสริมสุขภาพอนามัยในกลุ่มสตรี ให้สามารถดูแลลสุขภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี
- เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี และฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย 50-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งลำไส้ ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่า 20
2 สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและลสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง รอ้ยละ 100
3 สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-7- ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็ง
วันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครูและผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการโครงการ
2.จัดทำและขออนุมัติโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3.เตรียมข้อมูลเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม
4.ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ
6.ประเมินผลการดำเนินงานตามกิจกรรมของโครงการและจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง
อัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งดน้อยลง
70
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีกลุ่มเป้าหมาย 30-60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
20.00
0.00
2
เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี และฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมม ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
100.00
3
เพื่อให้สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้องทุกราย
100.00
4
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย 50-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งลำไส้ ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย 50-70ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้องทุกราย
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี (2) เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี และฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย 50-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งลำไส้ ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4131-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรอมล๊ะห์ แวเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอมล๊ะห์ แวเตะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4131-01-13 เลขที่ข้อตกลง 27/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4131-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น โรคมะเร็งที่พบมาก ที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งลำไส้และไส้ตรง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ตามลำดับในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดอายุระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปได้ยากต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง การป้องกัน และควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกต้องมีการค้นหาโดยการตรวจหา เซลล์มะเร็งตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและ จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ ในส่วนของโรคมะเร็งลำไส้ และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับสามในเพศชาย และเป็นอันดับสี่ในเพศ หญิง ในปี พ.ศ. 2554 พบผู้ป่วยใหม่ปีละประมาณ 10,624 ราย โดยในแต่ละปีจะมีผู้เสียชีวิตจากมะเร็ง ลำไส้ ใหญ่และไส้ตรงประมาณ 3,000 ราย โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่สามารถ ทำการตรวจหาได้ ตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก ซึ่งสามารถทำการรักษาให้หายได้และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษามะเร็งในระยะ ลูกลาม นอกจากนี้ยังสามารถตรวจพบในระยะที่ยังไม่เป็นมะเร็งคือ Adenomas ซึ่งเมื่อทำการรักษาโดยการ ตัดทิ้งแล้วสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ สถาบันมะเร็งแห่งชาติจึงเสนอโครงการตรวจคัดกรอง มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงให้กับประชาชนที่มีอายุ 50-70 ปีขึ้นไป โดยการตรวจเม็ดเลือดแดงแฝงในอุจจาระ ด้วยวิธี Fecal Immunochemical Tast (FIT) ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเนื่องจากขั้นตอนในการเตรียม ตัวไม่ยุ่งยากซับซอน และสามารถทำการตรวจคัดกรองได้ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เนื่องจาากโรคมะเร็งเป็นโรคที่เป็นแล้วจะทำให้เกิดอาการป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ซึ่งผู้ป่วยได้รับการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่มักจะได้รับการรักษาเมื่ออยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้ผลการรักษาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรแต่ในขณะเดียวกันโรคมะเร็งเป็นโรคหนึ่งที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ถ้าหากได้รับการตรวจวินิจฉัยและมาพบแพทย์ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ปัจจุบันสตรีและบุรุษจำนวนไม่น้อยที่ยังขาดความรู้ในเรื่องโรคมะเร็ง จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี ในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง ปีงบประมาณ 2567 สตรีอายุ 30-60 ปี จำนวนทั้งหมด 1,120 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธีการ pap smear จำนวน 303 คน คิดเป็นร้อยละ 27.05 และสตรีอายุ 30-70 ปี จำนวน 1,456 คน ได้รับการตรวจคัดกรองเต้านมด้วยเจ้าหน้าที่่ และด้วยตนเอง จำนวน 1,142 คน คิดเป็นร้อยละ 78.43 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร้งลำไส้และไส้ตรง โดยวิธี Fit test จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลอัยเยอร์วงได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ประชาชน ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชน แลการลดภาระค่าใช้จ่ายที่ต้องดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง จึงได้จัดทำโครงการ คัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกขึ้นเปฌนการสนองตามนโยบายหลักประกันสุขภาพส่งเสริมสุขภาพอนามัยในกลุ่มสตรี ให้สามารถดูแลลสุขภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี
- เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี และฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย 50-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งลำไส้ ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 70 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่า 20
2 สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและลสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง รอ้ยละ 100
3 สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-7- ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็ง |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครูและผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการโครงการ 2.จัดทำและขออนุมัติโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.เตรียมข้อมูลเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม 4.ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ 6.ประเมินผลการดำเนินงานตามกิจกรรมของโครงการและจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง
|
70 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีกลุ่มเป้าหมาย 30-60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก |
20.00 | 0.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี และฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมม ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง |
100.00 |
|
||
3 | เพื่อให้สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้องทุกราย |
100.00 |
|
||
4 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย 50-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งลำไส้ ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย 50-70ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้องทุกราย |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | 70 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 70 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี (2) เพื่อให้ความรู้ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี และฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้สตรีกลุามเป้าหมาย 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย 50-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งลำไส้ ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4131-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรอมล๊ะห์ แวเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......