กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวดารารัตน์ นาคเรือง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 ตุลาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 ตุลาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าไปเพิ่มจำนวนในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึันเป็นจากตัวเชื้อโรคเอง หรือพิษที่เชื้อโรคนั้นปล่อยออกมา เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยอ้อมไปสู่คนปกติ บางครั้งเรียกว่า โรคติดเชื้อแทนคำว่า โรคติดต่อ สำหรับในเขตร้อน อากาศอบอุ่นจนถึงร้อนจัดตลอดปี และมีฝนตกชุก มีความชื้นสูง เป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆซุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น จึงจะต้องมีมาตรการคาบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตรฐาน ในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆเข่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาเลเรีย ไข้หวัดนก โรคซาร์ส โรคไข้หวัดใหญ่ โรคเล็ปโตสไปรโรซิส โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าและโรคอื่นที่อุบัติใหม่ฯลฯ เป็นต้น ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 มาตรา 50 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายมีหน้าที่ต้องทำในเขตดังต่อไปนี้ ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อและพระราชบัญญัติกำหนดแผนและการกระจายอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง นอกจากโรคติดต่อแล้วก็ยังมีภัยสุขภาพต่างๆที่อาจจะเกิดขี้นในชุมชน เช่น อุทกภัย ไฟไหม้ มลพิษ อุบัติเหตุทางถนน จนน้ำ ปลาปักเป้ากัดฯลฯ ซึ่งภัยสุขภาพต่างๆเหล่านี้อาจเกิดขี้นได้โดยไมคาดคิด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง   ดังนั้น เพื่อให้การป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในชุมชน ในพื้นที่ตำบลเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ งานสาธารณสุข เทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง เป็นหน่วยงานหนึ่งที่เชื่อมโยงในด้านการดำเนินงานและเสริมสร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่ โดยสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรต่างๆมีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชนขี้น เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคระบายและภัยสุขภาพในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันตนเองจากโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ ภัยพิบัติจากธรรมชาติและภัยสุขภาพต่างๆตัวชี้วัดความสำเร็จ: ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ ภัยพิบัติธรรมชาติและภัยสุขภาพต่างๆ 2.เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อละภัยสุขภาพในชุมชน 3.เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคให้เป็นไปตามมาตรฐานทางระบาดวิทยา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สามารถควบคุมโรคระบาดและภัยสุขภาพที่เกิดขึ้นได้ทันท่วงที 2.ลดความเสี่ยงการระบาดของโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน 3.เครือข่ายชุมชนเกิดความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน 4.ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีลดการเกิดโรคติดต่อที่ส่งผลแก่ชีวิตในชีวิต


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันตนเองจากโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ ภัยพิบัติจากธรรมชาติและภัยสุขภาพต่างๆตัวชี้วัดความสำเร็จ: ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ ภัยพิบัติธรรมชาติและภัยสุขภาพต่างๆ 2.เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อละภัยสุขภาพในชุมชน 3.เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคให้เป็นไปตามมาตรฐานทางระบาดวิทยา
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันตนเองจากโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ ภัยพิบัติจากธรรมชาติและภัยสุขภาพต่างๆตัวชี้วัดความสำเร็จ: ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ ภัยพิบัติธรรมชาติและภัยสุขภาพต่างๆ 2.เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อละภัยสุขภาพในชุมชน 3.เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคให้เป็นไปตามมาตรฐานทางระบาดวิทยา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 008

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวดารารัตน์ นาคเรือง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด