กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย หมู่ที่ 1 – 4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮาสเม๊าะ อามิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย หมู่ที่ 1 – 4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2476-1-010 เลขที่ข้อตกลง 008/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย หมู่ที่ 1 – 4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย หมู่ที่ 1 – 4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย หมู่ที่ 1 – 4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2476-1-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญสำหรับการติดต่อสื่อสารของผู้คนในสังคม ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของคนเปลี่ยนไป ในขณะที่ระบบบริการสุขภาพและระบบการพัฒนาคนยังไม่สามารปรับตัวรองรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้การเกิดโรคฟันผุ ในทุกกลุ่มวัย กรมอนามัยจากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่อปากแห่งชาติครั้งที8พศ.2560เปรียบเทียบกับการสำรวจใน7 ครั้งที่ผ่านมา นับตั้งแต่การสำรวจสภาวะช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 1 พศ.2503 พบว่าสภาวะสุขภาพช่องปากของประชากรไทยมีแนวโน้มในภาพรวมดีขึ้น โดยความชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กลดลง โดยร้อยละของเด็กอายุ 5 ขวบ และ12 ปีที่มีฟันผุลดลงจากร้อยละ85.3และ52.9ในปีพ.ศ2537 เป็นร้อยละ75.6 และ520 ในปีพ.ศ2560เปิดเผยผลการสำรวจสุขภาพช่องปาก ในปี 2560 พบว่า สภาวะช่องปากของประชากรไทยมีแนวโน้มในภาพรวมดีขึ้น โดยความชุกชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กลดลงเด็กไทยโดยเฉลี่ยร้อยละ 50เป็นโรคฟันผุสูงสุดในเขตภาคใต้ร้อยละ 65 โดยเฉพาะใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานีและนราธิวาส ในปี 2560 กระทรวงสาธารณสุขได้รายงาน พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนใต้ เด็กและผู้สูงอายุเผชิญปัญหาโรคฟันสูงเป็นอันดับของประเทศ โดยเฉพาะจังหวัดนราธิวาส พบเด็กฟันผุถึงร้อยละ 80 ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุโดยเฉลี่ยพบ 1 ใน 10ไม่มีฟันเคี้ยวอาหาร และพบว่ากว่าครึ่งยังไม่ได้รับการรักษาเนื่องจากอุปสรรคในการเดินทางและผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบทำให้เกิดปัญหาเป็นโรคเหงือกอักเสบรุนแรงสูงถึงร้อยละ๙๑และมีโอกาสสูญเสียฟันทั้งปากเพิ่มขึ้น การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส ในปี 2565 พบว่าเด็กอายุ0-5 ปี ฟันผุสูงถึงร้อยละ 62 .35เด็กอายุ6-12 ปี พบว่ามีปัญหาฟันถาวรผุร้อยละ 78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กองทันสาธารณสุขกำหนด คือมีฟันถาวรผุไม่เกินร้อยละ 20 กลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่พบปัญหาการสูญเสียฟันชัดเจน ในกลุ่มอายุ 13-59 ปีมีฟันถาวรผุร้อยละ ๗๕ การสูญเสียฟันในผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 ซี่/คน อาจกล่าวได้ว่าผู้สูงอายุเกือบทุกคนมีปัญหาการ บดเคี้ยวอาหาร การไม่มีฟันทั้งปาก เป็นดัชนีที่บ่งบอกถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอีกด้วย ซึ่งพบถึงร้อยละ 10.5 และจากข้อมูล ปี 2560 อัตราผู้ป่วย 10 อันดับแรก ของประชาชนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ประชาชนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ พบว่าอัตราการป่วยจากโรคฟันผุเป็นโรคที่พบมากเป็นอันดับ 3 ร้อยละ51.78 อัตราต่อแสน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามารถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
  3. เพื่อให้แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรู้ถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้ถูกวิธี
  4. เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพตนเองและเป็นแกนนำด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
  2. กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก 0 – 5 ปี แกนนำนักเรียน
  3. กิจกรรมที่ 3 ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้นำศาสนา
  4. กิจกรรมที่ 4 ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 539
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มหญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น ฟันผุและเหงือกอักเสบลดลง
2.กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ฟันผุลดลงและผู้ปกครองสามารถแปรงฟันให้เด็ก ได้อย่างถูกต้อง 3. แกนนำ อสม.และแม่อาสาได้รับความรู้สามารถดูแลทันตสุขภาพตนเองและกระจายความรู้แก่เพื่อนบ้าน ได้ 4.กลุ่มเด็กนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนนำร่อง สุขภาพช่องปากสะอาดปราศจากฟันแท้ผุ มีฟันแท้ ผุ และเหงือกอักเสบลดลง 5. กลุ่มผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและดูแลฟันปลอมได้ถูกต้อง
6.กลุ่มคนพิการ ทุพพลภาพ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและ ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการ ดูแลได้ อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์รายใหม่

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงมีครรภ์รายใหม่ ฝึกทักษะการแปรงฟันโดยการย้อมสีฟัน
  • ให้บริการทันตกรรมในรายที่จำเป็น
  • เยี่ยมบ้านหญิงมีครรภ์หลังคลอดพร้อมสอนการเช็ดเหงือกลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงาน - หญิงมีครรภ์ได้รับความรู้ทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ ๘๕ - หญิงมีครรภ์ได้รับบริการตามความจำเป็น ร้อยละ ๖๐ - เยี่ยมบ้านหญิงมีครรภ์หลังคลอดพร้อมสอนการเช็ดเหงือกลูก ร้อยละ ๙๐

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ๐-๕ ปี แกนนำนักเรียน

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนนำร่อง
  • ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ๐-๕ ปี แกนนำนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงาน
๑. นักเรียนที่เข้าร่วมอบรมจำนวน ๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๒. นักเรียนไดัรับความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพช่องของตนเองและเป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพช่องปากในโรงเรียนได้ ๓. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ฟันผุลดลงและผู้ปกครองสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 3 ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้นำศาสนา

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ และผู้นำศาสนา
  • ฝึกทักษะการแปรงฟันแท้ที่ถูกวิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงาน
- ผู้สูงอายุและผู้นำศาสนา สามารถรับบริการทันตกรรมที่จำเป็นอย่างง่ายได้ เช่น ขูดหินปูน ทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ ๙๐

 

0 0

4. กิจกรรมที่ 4 ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกตรวจสุขภาพช่องปากผู้ป่วยติดเตียงและทำความสะอาดช่องปาก พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและการกินอาหารสำหรับผู้ป่วยติดเตียงให้กับผู้ดูแล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนิงาน ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี ร้อยละ ๑๐๐

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามารถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามารถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
0.00

 

3 เพื่อให้แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรู้ถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรู้ถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้ถูกวิธี
0.00

 

4 เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพตนเองและเป็นแกนนำด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 แกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพตนเองและเป็นแกนนำด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 539
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 539
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามารถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ (3) เพื่อให้แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรู้ถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้ถูกวิธี (4) เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพตนเองและเป็นแกนนำด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ (2) กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก  0 – 5 ปี แกนนำนักเรียน (3) กิจกรรมที่ 3 ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้นำศาสนา (4) กิจกรรมที่ 4 ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย หมู่ที่ 1 – 4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2476-1-010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสเม๊าะ อามิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด